IMPACT REPORT

ให้คะแนน Impact Report นี้
Viewer: {{ impModel.log_view }}
Average Rating: {{ impModel.rate_avg }}
ชื่อโครงการ โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ Premium OTOP เสื่อกก จังหวัดมหาสารคาม
ประเภทโครงการ ระบบดิจิทัล (Digital)
ผู้ขับเคลื่อนโครงการทางสังคม Unregistered IC
ปีที่ดำเนินโครงการ 2017
ภูมิภาค
จังหวัด มหาสารคาม
รายละเอียดโครงการโดยย่อ โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ Premium OTOP เสื่อกก จังหวัดมหาสารคาม โดยเครือข่ายวิจัยเครือข่ายอุดมศึกษาภาคอีสานตอนบน (มหาวิทยาลัยขอนแก่น) ณ สมาคมไทบ้าน ชุมชนบ้านปลาบู่ อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม เพื่อต่อยอดผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่นหรือเสื่อกกผ่านการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากองค์ความรู้ในการแปรรูปเสื่อกกให้เป็นแผ่นแข็งสู่ชุมชน รวมถึงการออกแบบผลิตภัณฑ์ต้นแบบและบรรจุภัณฑ์สินค้าต้นแบบให้ขึ้นสู่ระดับ Premium OTOP ตลอดจนการพัฒนาด้านการตลาดหรือการเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายผ่านระบบ e-commerce
เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
  • Goal 8: การจ้างงานที่มีคุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ
  • Goal 9: อุตสาหกรรม นวัตกรรม โครงสร้างพื้นฐาน
ผู้ดำเนินโครงการหลัก
  • มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • ผู้ได้รับประโยชน์หลัก
  • สมาคมไทบ้านในชุมชน
  • นายช่างในชุมชน
  • ชุมชนบ้านปลาบู่
  • ผู้สนับสนุนหล่งทุน
  • สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
  • ภาคีสนับสนุนด้านต่างๆ
    วิธีการประเมิน ประเมินหลังจากการดำเนินโครงการ
    ระยะเวลาในการประเมิน 01/07/2018 - 30/06/2019
    ประเภทการประเมิน Social Return on Investment
    ผู้ประเมิน สกุลทิพย์ กีรติพันธวงศ์ และคณะ
    รูปแบบการประเมิน ประเมินโดยผู้ประเมินทางสังคม
    สถานะการรับรอง อื่น
    รูปแบบการประเมิน evaluation
    มูลค่าโครงการ 842,700.00 บาท
    SROI RATIO 0.78 เท่า

    ผลสัมฤทธิ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม (SIA & SROI)

    มิติด้านเศรษฐกิจ/การเงิน (EC : ECONOMICS)
    ไม่ระบุ
    • คณะกรรมการฯ เกิดทักษะ/องค์ความรู้/นวัตกรรมใหม่ด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์ และด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ คิดเป็นมูลค่า รวม 147,436 บาท
    • เกิดกิจกรรมประชุมอบรมฝึกฝนทักษะ/การถ่ายทอดเทคโนโลยีเฉลี่ยรวม 3 ครั้ง ได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์ที่ออกแบบใหม่เฉลี่ยปริมาณ 14 ผลิตภัณฑ์ คิดเป็นมูลค่า รวม 61,340 บาท
    • นายช่างเกิดทักษะในการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเสื่อกกเป็นแผ่นแข็ง คิดเป็นมูลค่า รวม 2,517 บาท
    • นายช่างเกิดทักษะความเป็นผู้นำกลุ่มในการอบรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเสื่อกกเป็นแผ่นแข็ง คิดเป็นมูลค่า รวม 15,100 บาท
    • ชุมชนบ้านบู่เกิดทักษะในการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเสื่อกกเป็นแผ่นแข็ง คิดเป็นมูลค่า รวม 10,067 บาท
    • ชุมชนบ้านปลาบู่เกิดการเข้าถึงวัสดุอุปกรณ์/ทรัพยากรในการผลิตเพิ่มขึ้น คิดเป็นมูลค่า รวม 64,614 บาท
    • ชุมชนบ้านปลาบู่เกิดการสร้างรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ รวม 277,408 บาท
    • มหาวิทยาลัมหาสารคามเกิดงานวิจัย/นวัตกรรมใหม่จากการดำเนินงาน คิดเป็นมูลค่า รวม 7,457 บาท
    • สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) คิดเป็นมูลค่า เกิดงานวิจัย/นวัตกรรมใหม่จากการดำเนินงาน คิดเป็นมูลค่า รวม 7,457 บาท
    • คณะกรรมการฯ เกิดทักษะ/องค์ความรู้/นวัตกรรมใหม่ด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์ และด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ คิดเป็นมูลค่า รวม 147,436 บาท
    • เกิดกิจกรรมประชุมอบรมฝึกฝนทักษะ/การถ่ายทอดเทคโนโลยีเฉลี่ยรวม 3 ครั้ง ได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์ที่ออกแบบใหม่เฉลี่ยปริมาณ 14 ผลิตภัณฑ์ คิดเป็นมูลค่า รวม 61,340 บาท
    • นายช่างเกิดทักษะในการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเสื่อกกเป็นแผ่นแข็ง คิดเป็นมูลค่า รวม 2,517 บาท
    • นายช่างเกิดทักษะความเป็นผู้นำกลุ่มในการอบรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเสื่อกกเป็นแผ่นแข็ง คิดเป็นมูลค่า รวม 15,100 บาท
    • ชุมชนบ้านบู่เกิดทักษะในการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเสื่อกกเป็นแผ่นแข็ง คิดเป็นมูลค่า รวม 10,067 บาท
    • ชุมชนบ้านปลาบู่เกิดการเข้าถึงวัสดุอุปกรณ์/ทรัพยากรในการผลิตเพิ่มขึ้น คิดเป็นมูลค่า รวม 64,614 บาท
    • ชุมชนบ้านปลาบู่เกิดการสร้างรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ รวม 277,408 บาท
    • มหาวิทยาลัมหาสารคามเกิดงานวิจัย/นวัตกรรมใหม่จากการดำเนินงาน คิดเป็นมูลค่า รวม 7,457 บาท
    • สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) คิดเป็นมูลค่า เกิดงานวิจัย/นวัตกรรมใหม่จากการดำเนินงาน คิดเป็นมูลค่า รวม 7,457 บาท
    มิติด้านสังคม/คุณภาพชีวิต (SO : SOCIAL)
    ไม่ระบุ
    • ชุมชนเกิดการรวมกลุ่มของชุมชนในการเข้าร่วมโครงการอย่างสม่ำเสมอ นำไปสู่การพัฒนาความเข้มแข็งของกลุ่ม/ชมรม เกิดความไว้วางใจของสมาชิกกลุ่ม ส่งผลให้เกิดความภาคภูมิใจ และความสัมพันธ์กับกลุ่มดีขึ้น คิดเป็นมูลค่า รวม 29,526 บาท
    • สมาคมไทบ้านในชุมชนเป็นที่รู้จัก ส่งเสริมให้เกิดภาคีเครือข่ายอื่นๆและโครงการความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่างๆ เพิ่มขึ้น ส่งผลต่องบประมาณ/ทรัพยากร/การสนับสนุนเพิ่มขึ้น คิดเป็นมูลค่า รวม 45,776 บาท
    • มหาวิทยาลัมหาสารคามเกิดภาคีเครือข่ายอื่น ๆ และโครงการความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่าง ๆ เพิ่มขึ้น ส่งผลต่องบประมาณ/ทรัพยากร/การสนับสนุนเพิ่มขึ้น คิดเป็นมูลค่า รวม 81,744 บาท
    • มหาวิทยาลัมหาสารคามเกิดเครือข่ายพันธมิตร จำนวน 2 องค์กร คิดเป็นมูลค่า รวม 81,744 บาท
    • มหาวิทยาลัมหาสารคามเกิดสื่อประชาสัมพันธ์จากการได้รับรางวัล/กรณีศึกษาในโครงการ คิดเป็นมูลค่า รวม 10,514 บาท
    • ชุมชนเกิดการรวมกลุ่มของชุมชนในการเข้าร่วมโครงการอย่างสม่ำเสมอ นำไปสู่การพัฒนาความเข้มแข็งของกลุ่ม/ชมรม เกิดความไว้วางใจของสมาชิกกลุ่ม ส่งผลให้เกิดความภาคภูมิใจ และความสัมพันธ์กับกลุ่มดีขึ้น คิดเป็นมูลค่า รวม 29,526 บาท
    • สมาคมไทบ้านในชุมชนเป็นที่รู้จัก ส่งเสริมให้เกิดภาคีเครือข่ายอื่นๆและโครงการความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่างๆ เพิ่มขึ้น ส่งผลต่องบประมาณ/ทรัพยากร/การสนับสนุนเพิ่มขึ้น คิดเป็นมูลค่า รวม 45,776 บาท
    • มหาวิทยาลัมหาสารคามเกิดภาคีเครือข่ายอื่น ๆ และโครงการความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่าง ๆ เพิ่มขึ้น ส่งผลต่องบประมาณ/ทรัพยากร/การสนับสนุนเพิ่มขึ้น คิดเป็นมูลค่า รวม 81,744 บาท
    • มหาวิทยาลัมหาสารคามเกิดเครือข่ายพันธมิตร จำนวน 2 องค์กร คิดเป็นมูลค่า รวม 81,744 บาท
    • มหาวิทยาลัมหาสารคามเกิดสื่อประชาสัมพันธ์จากการได้รับรางวัล/กรณีศึกษาในโครงการ คิดเป็นมูลค่า รวม 10,514 บาท
    SROI RATIO: 0.78
    หมายถึง 1 บาทที่ลงทุนในโครงการสามารถสร้างผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมคิดเป็นมูลค่า 0.78 บาท
    IMPACT DIMENSION
    เศรษฐกิจ
    70.42%
    (1.19 M)
    สังคม
    29.58%
    (0.50 M)
    มูลค่าโครงการ: 842,700.00 บาท