IMPACT REPORT

ให้คะแนน Impact Report นี้
Viewer: {{ impModel.log_view }}
Average Rating: {{ impModel.rate_avg }}
ชื่อโครงการ โครงการนวัตกรรมผลิตภัณฑ์จากใบหญ้าแฝก
ประเภทโครงการ การพัฒนาสังคม (Social)
ผู้ขับเคลื่อนโครงการทางสังคม Unregistered IC
ปีที่ดำเนินโครงการ 2019
ภูมิภาค
จังหวัด ฉะเชิงเทรา
รายละเอียดโครงการโดยย่อ แม้ว่าสินค้าที่ทางกลุ่มผลิตออกมาจะเคยได้รับรางวัลในการประกวดผลิตภัณฑ์จากใบหญ้าแฝกมาถึง 2 รางวัล แต่ช่องทางในการจำหน่ายสินค้าของกลุ่มเป็นการวางจำหน่ายที่ร้านภัทรพัฒน์ การออกจำหน่ายในงานแสดงสินค้า OTOP ต่างๆ หรือการจำหน่ายที่กลุ่มระหว่างที่มีผู้มาเยี่ยมชมโครงการของกลุ่มเท่านั้น นอกจากนี้ ทางประธานกลุ่มได้แจ้งว่า ชาวบ้านยังขาดความรู้ด้านการออกแบบสินค้า เนื่องจากปัจจุบันชาวบ้านทำได้เพียงลายพื้นฐานที่มีจำหน่ายทั่วไปในท้องตลาด ซึ่งเป็นสีธรรมชาติของหญ้าแฝกเท่านั้น อีกทั้งตัวผลิตภัณฑ์ของกลุ่มยังขาดความหลากหลาย ผลิตตามความถนัดของชาวบ้าน ซึ่งอาจจะไม่สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย จึงเป็นที่มาของโครงการนวัตกรรมผลิตภัณฑ์จากใบหญ้าแฝก เพื่อสร้างนวัตกรรมความแตกต่างของผลิตภัณฑ์เพื่อตอบสนองกลุ่มเป้าหมายที่มีส่วนแบ่งตลาดที่สามารถขยายตลาดได้อย่างมั่นคงในอนาคต โครงการนวัตกรรมผลิตภัณฑ์จากใบหญ้าแฝก โดยเครือข่ายวิจัยเครือข่ายอุดมศึกษาภาคตะวันออก (มหาวิทยาลัยบูรพา) ณ กลุ่มหัตถกรรมดงรัก ตำบลคลองตะเกรา อำเภอท่าตะเกียบ จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายทางการตลาดสร้างนวัตกรรมผลิตภัณฑ์จากใบหญ้าแฝกให้เกิดมูลค่าเพิ่มขึ้น ผ่านการสร้างสรรค์เป็นประเภทสินค้าที่หลากหลาย เช่น เครื่องประดับ ดอกไม้ประดิษฐ์จากวัสดุธรรมชาติ ให้กับกลุ่มผู้ผลิตผลิตภัณฑ์หัตถกรรมจากใบหญ้าแฝก ตลอดจนการทดลองการเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายผ่านระบบออนไลน์
เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
  • Goal 1: ขจัดความยากจน
  • Goal 2: ความหิวสาบสูญ
  • Goal 4: การศึกษาที่เท่าเทียม
  • Goal 8: การจ้างงานที่มีคุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ
ผู้ดำเนินโครงการหลัก
  • มหาวิทยาลัยบูรพา
  • ผู้ได้รับประโยชน์หลัก
  • ชุมชน
  • ผู้สนับสนุนหล่งทุน
  • สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
  • ภาคีสนับสนุนด้านต่างๆ
    วิธีการประเมิน ประเมินหลังจากการดำเนินโครงการ
    ระยะเวลาในการประเมิน 25/04/2022 - 25/04/2022
    ประเภทการประเมิน Social Return on Investment
    ผู้ประเมิน สกุลทิพย์ กีรติพันธวงศ์ และคณะ
    รูปแบบการประเมิน ประเมินโดยผู้ประเมินทางสังคม
    สถานะการรับรอง อื่น
    รูปแบบการประเมิน evaluation
    มูลค่าโครงการ 561,173.00 บาท
    SROI RATIO 0.71 เท่า

    ผลสัมฤทธิ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม (SIA & SROI)

    มิติด้านเศรษฐกิจ/การเงิน (EC : ECONOMICS)
    ไม่ระบุ
    • มหาวิทยาลัยบูรพา เกิดกิจกรรม (ประชุม/ถ่ายทอดเทคโนโลยี/ทำกิจกรรมกลุ่ม) เฉลี่ยรวม 12 ครั้งต่อปี คิดเป็นมูลค่า รวม 39,809 บาท
    • มหาวิทยาลัยบูรพา เกิดกิจกรรมการตลาด/การสื่อสาร การสำรวจ/วิเคราะห์ตลาดในกลุ่มเป้าหมาย คิดเป็นมูลค่า รวม 24,205 บาท
    • มหาวิทยาลัยบูรพา เกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่โดยการย้อมสีหญ้าแฝกจากสารสกัดธรรมชาติ - เกิดการเป็นวิทยากร/คนต้นแบบในการทำนวัตกรรมจากหญ้าแฝก คิดเป็นมูลค่า รวม 31,319 บาท
    • มหาวิทยาลัยบูรพา เกิดการจัดสรรทำผลงานทางวิชาการ คิดเป็นมูลค่า รวม 7,457 บาท
    • สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เกิดการจัดสรรทำผลงานทางวิชาการ คิดเป็นมูลค่า รวม 7,457 บาท
    • มหาวิทยาลัยบูรพา เกิดกิจกรรม (ประชุม/ถ่ายทอดเทคโนโลยี/ทำกิจกรรมกลุ่ม) เฉลี่ยรวม 12 ครั้งต่อปี คิดเป็นมูลค่า รวม 39,809 บาท
    • มหาวิทยาลัยบูรพา เกิดกิจกรรมการตลาด/การสื่อสาร การสำรวจ/วิเคราะห์ตลาดในกลุ่มเป้าหมาย คิดเป็นมูลค่า รวม 24,205 บาท
    • มหาวิทยาลัยบูรพา เกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่โดยการย้อมสีหญ้าแฝกจากสารสกัดธรรมชาติ - เกิดการเป็นวิทยากร/คนต้นแบบในการทำนวัตกรรมจากหญ้าแฝก คิดเป็นมูลค่า รวม 31,319 บาท
    • มหาวิทยาลัยบูรพา เกิดการจัดสรรทำผลงานทางวิชาการ คิดเป็นมูลค่า รวม 7,457 บาท
    • สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เกิดการจัดสรรทำผลงานทางวิชาการ คิดเป็นมูลค่า รวม 7,457 บาท
    มิติด้านสังคม/คุณภาพชีวิต (SO : SOCIAL)
    ไม่ระบุ
    • มหาวิทยาลัยบูรพา เกิดเครือข่ายพันธมิตร จำนวน 2 องค์กร คิดเป็นมูลค่า รวม 49,046 บาท
    • มหาวิทยาลัยบูรพา เกิดกิจกรรมอบรมฝึกฝนทักษะ/การถ่ายทอดเทคโนโลยีเฉลี่ยรวม 1 ครั้งต่อปี คิดเป็นมูลค่า รวม 169,877 บาท
    • ชุมชนฯ เกิดเครือข่ายพันธมิตร จำนวน 2 องค์กร คิดเป็นมูลค่า รวม 108,992 บาท
    • สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เกิดเครือข่ายพันธมิตร จำนวน 2 องค์กร คิดเป็นมูลค่า รวม 108,992 บาท
    • เกิดสื่อประชาสัมพันธ์จากการได้รับรางวัล/กรณีศึกษาในโครงการ คิดเป็นมูลค่า รวม 14,019 บาท
    • มหาวิทยาลัยบูรพา เกิดเครือข่ายพันธมิตร จำนวน 2 องค์กร คิดเป็นมูลค่า รวม 49,046 บาท
    • มหาวิทยาลัยบูรพา เกิดกิจกรรมอบรมฝึกฝนทักษะ/การถ่ายทอดเทคโนโลยีเฉลี่ยรวม 1 ครั้งต่อปี คิดเป็นมูลค่า รวม 169,877 บาท
    • ชุมชนฯ เกิดเครือข่ายพันธมิตร จำนวน 2 องค์กร คิดเป็นมูลค่า รวม 108,992 บาท
    • สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เกิดเครือข่ายพันธมิตร จำนวน 2 องค์กร คิดเป็นมูลค่า รวม 108,992 บาท
    • เกิดสื่อประชาสัมพันธ์จากการได้รับรางวัล/กรณีศึกษาในโครงการ คิดเป็นมูลค่า รวม 14,019 บาท
    SROI RATIO: 0.71
    หมายถึง 1 บาทที่ลงทุนในโครงการสามารถสร้างผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมคิดเป็นมูลค่า 0.71 บาท
    IMPACT DIMENSION
    เศรษฐกิจ
    19.65%
    (0.22 M)
    สังคม
    80.35%
    (0.90 M)
    มูลค่าโครงการ: 561,173.00 บาท