IMPACT REPORT

ให้คะแนน Impact Report นี้
Viewer: {{ impModel.log_view }}
Average Rating: {{ impModel.rate_avg }}
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาลวดลายพิมพ์ลวดลายพิมพ์กัดผ้าม่อฮ้อม ผสมเทคโนโลยีการปักผ้าสู่เสื้อผ้าเครื่องแต่งกายบุรุษแบรนด์ขวัญโย
ประเภทโครงการ การพัฒนาสังคม (Social)
ผู้ขับเคลื่อนโครงการทางสังคม Unregistered IC
ปีที่ดำเนินโครงการ 2017
ภูมิภาค
จังหวัด แพร่
รายละเอียดโครงการโดยย่อ โครงการพัฒนาลวดลายพิมพ์กัดผ้าม่อฮ่อม ผสมเทคโนโลยีการปักผ้าสู่เสื้อผ้าเครื่องแต่งกายบุรุษแบรนด์ขวัญโย โดยเครือข่ายวิจัยเครือข่ายอุดมศึกษาภาคกลางตอนบน (มหาวิทยาลัยศรีนครินทร-วิโรฒ) ณ ชุมชนบ้านทุ่งโฮ้ง อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ เพื่อพัฒนาผ้าม่อฮ่อม ผ่านการใช้เทคโนโลยีการออกแบบเทคนิคการพิมพ์กัดลวดลายลงบนผ้าม่อฮ่อม โดยมีเทคนิคร่วมสมัยของลวดลายปักเครื่องและปักมือให้เข้าสู่ความเป็นสากล เพื่อเพิ่มมูลค่าและเพิ่มความสร้างสรรค์ให้สินค้า ตลอดจนเพื่อสร้างงาน สร้างโอกาส เสริมสร้างรายได้ให้ชุมชนในท้องถิ่น ตลอดจนการพัฒนาด้านการตลาดและการประชาสัมพันธ์ผ่านการเดินแฟชั่นโชว์
เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
  • Goal 8: การจ้างงานที่มีคุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ
  • Goal 9: อุตสาหกรรม นวัตกรรม โครงสร้างพื้นฐาน
ผู้ดำเนินโครงการหลัก
  • มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์
  • ผู้ได้รับประโยชน์หลัก
  • ผู้ประกอบการ แบรนด์ขวัญโย
  • กลุ่มผ้าม่อฮ่อม
  • ผู้สนับสนุนหล่งทุน
  • สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
  • ภาคีสนับสนุนด้านต่างๆ
    วิธีการประเมิน ประเมินหลังจากการดำเนินโครงการ
    ระยะเวลาในการประเมิน 01/07/2018 - 30/06/2019
    ประเภทการประเมิน Social Return on Investment
    ผู้ประเมิน สกุลทิพย์ กีรติพันธวงศ์ และคณะ
    รูปแบบการประเมิน ประเมินโดยผู้ประเมินทางสังคม
    สถานะการรับรอง อื่น
    รูปแบบการประเมิน evaluation
    มูลค่าโครงการ 1,452,234.00 บาท
    SROI RATIO 0.93 เท่า

    ผลสัมฤทธิ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม (SIA & SROI)

    มิติด้านเศรษฐกิจ/การเงิน (EC : ECONOMICS)
    ไม่ระบุ
    • ผู้ประกอบการแบรนด์ขวัญโย เกิดทักษะ/องค์ความรู้/นวัตกรรมใหม่จากการดำเนินโครงการ คิดเป็นมูลค่า รวม 10,440 บาท
    • ผู้ประกอบการแบรนด์ขวัญโยกิดการพัฒนาเอกลักษณ์ผ้าม่อฮ้อม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ คิดเป็นมูลค่า รวม 283,748 บาท
    • กลุ่มผ้าม่อฮ่อมเกิดทักษะ/องค์ความรู้ใหม่ในการแปรรูปผลิตภัณฑ์พัฒนาลวดลายพิมพ์กัดผ้าม่อฮ่อม ผสมเทคโนโลยีการปักผ้าสู่เสื้อผ้าเครื่องแต่งกายบุรุษแบรนด์ขวัญโย คิดเป็นมูลค่า รวม 130,498 บาท
    • มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์เกิดการจัดสรรทำผลงานทางวิชาการ คิดเป็นมูลค่า รวม 7,457 บาท
    • สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เกิดการจัดสรรทำผลงานทางวิชาการ คิดเป็นมูลค่า รวม 7,457 บาท
    • ผู้ประกอบการแบรนด์ขวัญโย เกิดทักษะ/องค์ความรู้/นวัตกรรมใหม่จากการดำเนินโครงการ คิดเป็นมูลค่า รวม 10,440 บาท
    • ผู้ประกอบการแบรนด์ขวัญโยกิดการพัฒนาเอกลักษณ์ผ้าม่อฮ้อม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ คิดเป็นมูลค่า รวม 283,748 บาท
    • กลุ่มผ้าม่อฮ่อมเกิดทักษะ/องค์ความรู้ใหม่ในการแปรรูปผลิตภัณฑ์พัฒนาลวดลายพิมพ์กัดผ้าม่อฮ่อม ผสมเทคโนโลยีการปักผ้าสู่เสื้อผ้าเครื่องแต่งกายบุรุษแบรนด์ขวัญโย คิดเป็นมูลค่า รวม 130,498 บาท
    • มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์เกิดการจัดสรรทำผลงานทางวิชาการ คิดเป็นมูลค่า รวม 7,457 บาท
    • สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เกิดการจัดสรรทำผลงานทางวิชาการ คิดเป็นมูลค่า รวม 7,457 บาท
    มิติด้านสังคม/คุณภาพชีวิต (SO : SOCIAL)
    ไม่ระบุ
    • ผู้ประกอบการแบรนด์ขวัญโยเป็นที่รู้จัก ส่งเสริมให้เกิดโครงการความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่างๆ เพิ่มขึ้น ส่งผลต่องบประมาณ/ทรัพยากร/การสันบสนุนเพิ่มขึ้น คิดเป็นมูลค่า รวม 324,441 บาท
    • กลุ่มผ้าม่อฮ่อมกิดการมีส่วนร่วมในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ โดยการเข้าร่วมผลิต/แปรรูปผลิตภัณฑ์ นำไปสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มและเกิดความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ ส่งผลให้เกิดการสร้างรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ รวม 347,200 บาท
    • มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์เกิดเครือข่ายพันธมิตร จำนวน 3 องค์กร คิดเป็นมูลค่า รวม 163,487 บาท
    • สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เกิดเครือข่ายพันธมิตร จำนวน 3 องค์กร คิดเป็นมูลค่า รวม 163,487 บาท
    • มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์เกิดสื่อประชาสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นจากการได้รับรางวัล/กรณีศึกษาในโครงการ คิดเป็นมูลค่า รวม 14,019 บาท
    • ผู้ประกอบการแบรนด์ขวัญโยเป็นที่รู้จัก ส่งเสริมให้เกิดโครงการความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่างๆ เพิ่มขึ้น ส่งผลต่องบประมาณ/ทรัพยากร/การสันบสนุนเพิ่มขึ้น คิดเป็นมูลค่า รวม 324,441 บาท
    • กลุ่มผ้าม่อฮ่อมกิดการมีส่วนร่วมในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ โดยการเข้าร่วมผลิต/แปรรูปผลิตภัณฑ์ นำไปสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มและเกิดความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ ส่งผลให้เกิดการสร้างรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ รวม 347,200 บาท
    • มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์เกิดเครือข่ายพันธมิตร จำนวน 3 องค์กร คิดเป็นมูลค่า รวม 163,487 บาท
    • สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เกิดเครือข่ายพันธมิตร จำนวน 3 องค์กร คิดเป็นมูลค่า รวม 163,487 บาท
    • มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์เกิดสื่อประชาสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นจากการได้รับรางวัล/กรณีศึกษาในโครงการ คิดเป็นมูลค่า รวม 14,019 บาท
    SROI RATIO: 0.93
    หมายถึง 1 บาทที่ลงทุนในโครงการสามารถสร้างผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมคิดเป็นมูลค่า 0.93 บาท
    IMPACT DIMENSION
    เศรษฐกิจ
    30.27%
    (0.88 M)
    สังคม
    69.73%
    (2.03 M)
    มูลค่าโครงการ: 1,452,234.00 บาท