IMPACT REPORT

ให้คะแนน Impact Report นี้
Viewer: {{ impModel.log_view }}
Average Rating: {{ impModel.rate_avg }}
ชื่อโครงการ โครงการการพัฒนาอาหารสัตว์น้ําสําเร็จรูปที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ประเภทโครงการ อาหารและการเกษตร (Food and Agriculture)
ผู้ขับเคลื่อนโครงการทางสังคม Unregistered IC
ปีที่ดำเนินโครงการ 2020
ภูมิภาค
จังหวัด พัทลุง
รายละเอียดโครงการโดยย่อ นวัตกรรมได้รับความร่วมมือระหว่างกลุ่มผู้เลี้ยงปลา กลุ่มแปร รูปปลา และผู้ประกอบการผลิตอาหารปลา สําเร็จรูปจากเศษ เหลือทิ้งจากการแปรรูปปลา โดยกลุ่มแปรรูปปลา จะนําเศษ เหลือทิ้งจากการแปรรูป มาให้แก่ผู้ประกอบการผลิตอาหาร สัตว์น้ําสําเร็จรูป และจําหน่ายให้แก่กลุ่มผู้เลี้ยงปลา โดยกลุ่มผู้ เลี้ยงปลาต้องจําหน่ายผลผลิตให้แก่กลุ่มแปรรูป นอกจากนี้ เป็นการช่วยสร้างความยั่งยืนให้แก่ธุรกิจการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ํา
เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
  • Goal 1: ขจัดความยากจน
  • Goal 2: ความหิวสาบสูญ
  • Goal 7: พลังงานสะอาดที่ทุกคนเข้าถึงได้
  • Goal 12: แผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน
ผู้ดำเนินโครงการหลัก
  • สำนักบ่มเพาะวิชาการเพื่อวิสาหกิจในชุมชน (UBI)
  • นักวิจัย
  • นักศึกษา
  • ผู้ได้รับประโยชน์หลัก
  • เกษตกรผู้เลี้ยงปลาดุก
  • กลุ่มแปรรูปปลาดุกร้า
  • ผู้ผลิตอาหารสัตว์น้ําสําเร็จรูป
  • ผู้สนับสนุนหล่งทุน
  • สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.)
  • ภาคีสนับสนุนด้านต่างๆ
  • ประมงจังหวัด
  • วิธีการประเมิน ประเมินหลังจากการดำเนินโครงการ
    ระยะเวลาในการประเมิน 01/10/2020 - 30/09/2021
    ประเภทการประเมิน Social Return on Investment
    ผู้ประเมิน สกุลทิพย์ กีรติพันธวงศ์ และคณะ
    รูปแบบการประเมิน ประเมินโดยผู้ประเมินทางสังคม
    สถานะการรับรอง -- ไม่ระบุ --
    รูปแบบการประเมิน evaluation
    มูลค่าโครงการ 3,155,377.00 บาท
    SROI RATIO 3.95 เท่า

    ผลสัมฤทธิ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม (SIA & SROI)

    มิติด้านเศรษฐกิจ/การเงิน (EC : ECONOMICS)
    ไม่ระบุ
    • กำลังการผลิตอาหารเม็ดสำเร็จรูปได้เพิ่มขึ้น รวม 67,633 บาท
    • รายได้จากการขายเพิ่มขึ้น รวม 318,522 บาท
    • ต้นทุนในการซื้ออาหารสัตว์น้ำลดลง รวม 241,304 บาท
    • ค่าใช้จ่ายในการจัดการน้ำเน่าเสียลดลง รวม 241,304 บาท
    • นักวิจัยเกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 203,558 บาท
    • บุคลากรเกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 206,449 บาท
    • ผู้ผลิตอาหารสัตว์น้ำสำเร็จรูปเกิดเป็นสถานที่ต้นแบบ/โมเดลต้นแบบ รวม 42,271 บาท
    • ผู้ผลิตอาหารสัตว์น้ำสำเร็จรูปเกิดทักษะ องค์ความรู้ และนวัตกรรมใหม่ รวม 53,543 บาท
    • เกิดองค์ความรู้/ผลงานที่เพิ่มขึ้น รวม 240,568 บาท
    • เกิดการเข้าถึงงบประมาณ/ทรัพยากร/ทุนสนับสนุนดำเนินงานที่เพิ่มขึ้น รวม 22,544 บาท
    • เกิดการต่อยอดผลงานทางวิชาการ วิจัย และนวัตกรรมจากการดำเนินโครงการ รวม 157,295 บาท
    • จำนวนงบประมาณ สิ่งของที่ได้รับสนับสนุนเพิ่มเติม รวม 157,295 บาท
    • เกิดนวัตกรรมกระบวนการผลิตและการเกษตรที่มีประสิทธิภาพ รวม 53,543 บาท
    • ผู้ผลิตอาหารสัตว์น้ำสำเร็จรูปมีผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีมาตรฐานและมีคุณภาพมากขึ้น รวม 42,271 บาท
    • กำลังการผลิตอาหารเม็ดสำเร็จรูปได้เพิ่มขึ้น รวม 67,633 บาท
    • รายได้จากการขายเพิ่มขึ้น รวม 318,522 บาท
    • ต้นทุนในการซื้ออาหารสัตว์น้ำลดลง รวม 241,304 บาท
    • ค่าใช้จ่ายในการจัดการน้ำเน่าเสียลดลง รวม 241,304 บาท
    • นักวิจัยเกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 203,558 บาท
    • บุคลากรเกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 206,449 บาท
    • ผู้ผลิตอาหารสัตว์น้ำสำเร็จรูปเกิดเป็นสถานที่ต้นแบบ/โมเดลต้นแบบ รวม 42,271 บาท
    • ผู้ผลิตอาหารสัตว์น้ำสำเร็จรูปเกิดทักษะ องค์ความรู้ และนวัตกรรมใหม่ รวม 53,543 บาท
    • เกิดองค์ความรู้/ผลงานที่เพิ่มขึ้น รวม 240,568 บาท
    • เกิดการเข้าถึงงบประมาณ/ทรัพยากร/ทุนสนับสนุนดำเนินงานที่เพิ่มขึ้น รวม 22,544 บาท
    • เกิดการต่อยอดผลงานทางวิชาการ วิจัย และนวัตกรรมจากการดำเนินโครงการ รวม 157,295 บาท
    • จำนวนงบประมาณ สิ่งของที่ได้รับสนับสนุนเพิ่มเติม รวม 157,295 บาท
    • เกิดนวัตกรรมกระบวนการผลิตและการเกษตรที่มีประสิทธิภาพ รวม 53,543 บาท
    • ผู้ผลิตอาหารสัตว์น้ำสำเร็จรูปมีผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีมาตรฐานและมีคุณภาพมากขึ้น รวม 42,271 บาท
    มิติด้านสังคม/คุณภาพชีวิต (SO : SOCIAL)
    ไม่ระบุ
    • องค์กรมีความน่าเชื่อถือ/มีผลประเมินองค์กรดีขึ้น รวม 245,773 บาท
    • นักวิจัยภาคเกิดความภูมิใจมากขึ้น รวม 83,274 บาท
    • เกิดการส่งเสริมความไว้วางใจ/เชื่อมั่นในการดำเนินงาน รวม 78,647 บาท
    • ความสัมพันธ์กับกลุ่มชุมชนที่ดีขึ้น รวม 164,087 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานและชุมชนดีขึ้น รวม 120,284 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ที่ดีขึ้นระหว่างหน่วยงานและชุมชน รวม 167,126 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จักเพิ่มขึ้น ภาพลักษณ์ดีขึ้น รวม 120,284 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จักเพิ่มขึ้น ภาพลักษณ์ดีขึ้น รวม 127,802 บาท
    • องค์กรมีความน่าเชื่อถือ/มีผลประเมินองค์กรดีขึ้น รวม 245,773 บาท
    • นักวิจัยภาคเกิดความภูมิใจมากขึ้น รวม 83,274 บาท
    • เกิดการส่งเสริมความไว้วางใจ/เชื่อมั่นในการดำเนินงาน รวม 78,647 บาท
    • ความสัมพันธ์กับกลุ่มชุมชนที่ดีขึ้น รวม 164,087 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานและชุมชนดีขึ้น รวม 120,284 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ที่ดีขึ้นระหว่างหน่วยงานและชุมชน รวม 167,126 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จักเพิ่มขึ้น ภาพลักษณ์ดีขึ้น รวม 120,284 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จักเพิ่มขึ้น ภาพลักษณ์ดีขึ้น รวม 127,802 บาท
    มิติด้านสิ่งแวดล้อม (EN : ENVIRONMENT)
    ไม่ระบุ
    • รวม 0 บาท
    • รวม 0 บาท
    SROI RATIO: 3.95
    หมายถึง 1 บาทที่ลงทุนในโครงการสามารถสร้างผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมคิดเป็นมูลค่า 3.95 บาท
    IMPACT DIMENSION
    เศรษฐกิจ
    64.91%
    (4.10 M)
    สังคม
    35.09%
    (2.21 M)
    มูลค่าโครงการ: 3,155,377.00 บาท