IMPACT REPORT

ให้คะแนน Impact Report นี้
Viewer: {{ impModel.log_view }}
Average Rating: {{ impModel.rate_avg }}
ชื่อโครงการ โครงการ “BMF Tha Ruea” ระบบการเลี้ยงฟาร์มกระบือทันสมัยชุมชน ท่าเรือ
ประเภทโครงการ อาหารและการเกษตร (Food and Agriculture)
ผู้ขับเคลื่อนโครงการทางสังคม Unregistered IC
ปีที่ดำเนินโครงการ 2021
ภูมิภาค
จังหวัด นครพนม
รายละเอียดโครงการโดยย่อ ปัจจุบันควายมีปริมาณลดลงมาก เนื่องจากความต้องการบริโภคเนื้อเพิ่มขึ้นแล้ว การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของเกษตรกรที่ประกอบอาชีพการทำนา มีการใช้เครื่องจักรกล (รถไถนา) แทนการใช้แรงงานควาย จึงไม่ให้ความสำคัญกับควาย ขายควายทิ้งเข้าโรงฆ่าสัตว์ เกษตรกรที่เลี้ยงควายอยู่ส่วนใหญ่ก็ไม่ได้เลี้ยงควายเป็นอาชีพหลัก จึงให้ความสนใจในการเลี้ยงดูน้อย ขาดการปรับปรุงพันธุ์ที่ดี ขาดการควบคุมป้องกันกำจัดโรคที่ถูกต้อง ทำให้ผลผลิตต่ำผลผลิตไม่เพียงพอต่อการบริโภค จึงทำให้จำนวนควายลดลงอย่างต่อเนื่อง จึงได้จัดทำโครงการการพัฒนานวัตกรรมฟาร์มกระบือทันสมัย BMF : Buffalo Modern Farm ขึ้น เพื่อเป็นการกระตุ้นให้เกษตรกร/กลุ่มเกษตรกรมีการเลี้ยงและพัฒนาการเลี้ยงกระบืออย่างยั่งยืนต่อไป
เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
  • Goal 12: แผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน
ผู้ดำเนินโครงการหลัก
  • นักวิจัย วิทยาลัยนาหว้า
  • ผู้ได้รับประโยชน์หลัก
  • กลุ่มวิสาหกิจชุมชนฯ ผู้เลี้ยงโคบ้าน ท่าเรือ
  • คณะกรรมการ และสมาชิกกลุ่มฯ ชุมชนกลุ่มผู้เลี้ยงโคบ้าน ท่าเรือ
  • ผู้สนับสนุนหล่งทุน
  • สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.)
  • ภาคีสนับสนุนด้านต่างๆ
    วิธีการประเมิน ประมาณการณ์
    ระยะเวลาในการประเมิน 01/01/2020 - 30/09/2020
    ประเภทการประเมิน Social Return on Investment
    ผู้ประเมิน สกุลทิพย์ กีรติพันธวงศ์ และคณะ
    รูปแบบการประเมิน ประเมินโดยผู้ประเมินทางสังคม
    สถานะการรับรอง -- ไม่ระบุ --
    รูปแบบการประเมิน feasibility
    มูลค่าโครงการ 4,524,903.00 บาท
    SROI RATIO 3.70 เท่า

    ผลสัมฤทธิ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม (SIA & SROI)

    มิติด้านเศรษฐกิจ/การเงิน (EC : ECONOMICS)
    ไม่ระบุ
    • รวม 0 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดเป็นสถานที่ต้นแบบ/ โมเดลต้นแบบเพิ่มขึ้น รวม 170,136 บาท
    • กลุ่มฯ ลดต้นทุนการผลิตที่ลดลง รวม 353,360 บาท
    • คณะกรรมการและสมาชิกเกิดองค์ความรู้หรือทักษะที่เพิ่มขึ้น รวม 259,130 บาท
    • คณะกรรมการและสมาชิกเกิดความมั่นคงในการประกอบอาชีพเดิมเพิ่มขึ้น รวม 212,016 บาท
    • นักวิจัยเกิดการส่งเสริมให้เกิดผลงาน/ งานวิจัย หรือการต่อยอดองค์ความรู้/ ผลงานที่เพิ่มขึ้น รวม 49,155 บาท
    • นักวิจัยเกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 41,290 บาท
    • จำนวนงบประมาณ สิ่งสนับสนุนต่าง ๆ เพิ่มขึ้น 10,000 บาทต่อครั้ง รวม 35,391 บาท
    • หน่วยงานกับชุมชนเกิดความสัมพันธ์ดีขึ้น รวม 27,527 บาท
    • องค์กรมีความน่าเชื่อถือ/มีผลการประเมินองค์กรที่ดีขึ้น รวม 424,517 บาท
    • บุคลากรเกิดองค์ความรู้/ทักษะ ใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 379,831 บาท
    • การเข้าถึงงบประมาณ/ ทรัพยากร/การสนับสนุนต่าง ๆ เพิ่มขึ้น รวม 491,546 บาท
    • รวม 0 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดเป็นสถานที่ต้นแบบ/ โมเดลต้นแบบเพิ่มขึ้น รวม 170,136 บาท
    • กลุ่มฯ ลดต้นทุนการผลิตที่ลดลง รวม 353,360 บาท
    • คณะกรรมการและสมาชิกเกิดองค์ความรู้หรือทักษะที่เพิ่มขึ้น รวม 259,130 บาท
    • คณะกรรมการและสมาชิกเกิดความมั่นคงในการประกอบอาชีพเดิมเพิ่มขึ้น รวม 212,016 บาท
    • นักวิจัยเกิดการส่งเสริมให้เกิดผลงาน/ งานวิจัย หรือการต่อยอดองค์ความรู้/ ผลงานที่เพิ่มขึ้น รวม 49,155 บาท
    • นักวิจัยเกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 41,290 บาท
    • จำนวนงบประมาณ สิ่งสนับสนุนต่าง ๆ เพิ่มขึ้น 10,000 บาทต่อครั้ง รวม 35,391 บาท
    • หน่วยงานกับชุมชนเกิดความสัมพันธ์ดีขึ้น รวม 27,527 บาท
    • องค์กรมีความน่าเชื่อถือ/มีผลการประเมินองค์กรที่ดีขึ้น รวม 424,517 บาท
    • บุคลากรเกิดองค์ความรู้/ทักษะ ใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 379,831 บาท
    • การเข้าถึงงบประมาณ/ ทรัพยากร/การสนับสนุนต่าง ๆ เพิ่มขึ้น รวม 491,546 บาท
    นักวิจัย วิทยาลัยนาหว้า
    • กลุ่มฯ พัฒนานวัตกรรมการผลิตและการเกษตรเพิ่มขึ้น 250,000 บาท รวม 431,884 บาท
    • กลุ่มฯ พัฒนานวัตกรรมการผลิตและการเกษตรเพิ่มขึ้น 250,000 บาท รวม 431,884 บาท
    มิติด้านสังคม/คุณภาพชีวิต (SO : SOCIAL)
    ไม่ระบุ
    • กลุ่มฯ เกิดภาคีเครือข่ายและความร่วมมือในการดำเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่ายเพิ่มขึ้น รวม 91,612 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 261,748 บาท
    • คณะกรรมการและสมาชิกเกิดความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกที่ดีขึ้น รวม 157,049 บาท
    • คณะกรรมการเกิดความภาคภูมิใจในการเป็นผู้นำในวิสาหกิจ ชุมชนฯ รวม 102,082 บาท
    • ความเครียด/ความกังวล/ความเสี่ยงในการประกอบอาชีพลดลง รวม 54,967 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายอื่นๆ และความร่วมมือเพิ่มขึ้น รวม 21,628 บาท
    • หน่วยงานมีภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 13,763 บาท
    • นักวิจัยเกิดความภาคภูมิใจเพิ่มขึ้น รวม 7,865 บาท
    • ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานและชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 312,802 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายอื่น ๆ เพิ่มขึ้น รวม 178,744 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จักเพิ่มขึ้น รวม 245,773 บาท
    • เกิดการส่งเสริมความไว้วางใจเพิ่มขึ้น รวม 134,058 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดภาคีเครือข่ายและความร่วมมือในการดำเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่ายเพิ่มขึ้น รวม 91,612 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 261,748 บาท
    • คณะกรรมการและสมาชิกเกิดความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกที่ดีขึ้น รวม 157,049 บาท
    • คณะกรรมการเกิดความภาคภูมิใจในการเป็นผู้นำในวิสาหกิจ ชุมชนฯ รวม 102,082 บาท
    • ความเครียด/ความกังวล/ความเสี่ยงในการประกอบอาชีพลดลง รวม 54,967 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายอื่นๆ และความร่วมมือเพิ่มขึ้น รวม 21,628 บาท
    • หน่วยงานมีภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 13,763 บาท
    • นักวิจัยเกิดความภาคภูมิใจเพิ่มขึ้น รวม 7,865 บาท
    • ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานและชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 312,802 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายอื่น ๆ เพิ่มขึ้น รวม 178,744 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จักเพิ่มขึ้น รวม 245,773 บาท
    • เกิดการส่งเสริมความไว้วางใจเพิ่มขึ้น รวม 134,058 บาท
    มิติด้านสิ่งแวดล้อม (EN : ENVIRONMENT)
    ไม่ระบุ
    • บุคลากรตระหนักถึงการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 67,029 บาท
    • บุคลากรตระหนักถึงการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 67,029 บาท
    SROI RATIO: 3.70
    หมายถึง 1 บาทที่ลงทุนในโครงการสามารถสร้างผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมคิดเป็นมูลค่า 3.7 บาท
    IMPACT DIMENSION
    เศรษฐกิจ
    63.55%
    (5.75 M)
    สังคม
    34.96%
    (3.16 M)
    สิ่งแวดล้อม
    1.48%
    (0.13 M)
    มูลค่าโครงการ: 4,524,903.00 บาท