IMPACT REPORT

ให้คะแนน Impact Report นี้
Viewer: {{ impModel.log_view }}
Average Rating: {{ impModel.rate_avg }}
ชื่อโครงการ โครงการการพัฒนาหม้อผลิตไอน้ำประสิทธิภาพสูง สำหรับนึ่งก้อนเชื้อเห็ดระดับชุมชน กรณีศึกษากลุ่มอาชีพเพาะเห็ดนางฟ้าเชิงอนุรักษ์ บ้านป่าพงศ์ อ.ตะโหมด จ.พัทลุง
ประเภทโครงการ อาหารและการเกษตร (Food and Agriculture)
ผู้ขับเคลื่อนโครงการทางสังคม Unregistered IC
ปีที่ดำเนินโครงการ 2020
ภูมิภาค
จังหวัด พัทลุง
รายละเอียดโครงการโดยย่อ การนึ่งก้อนเชื้อเห็ดที่อุณหภูมิ 90 - 100°C เพื่อฆ่าเชื้อรา และแบคทีเรียที่ปลอมปนอยู่ เป็นขั้นตอนสำคัญ ฟาร์มเห็ดของกลุ่มอาชีพเพาะเห็ดนางฟ้าเชิงอนุรักษ์ บ้านป่าพงศ์ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง พบว่า หม้อผลิตไอน้ำเพื่อนึ่งก้อนเชื้อเห็ดที่ใช้มีลักษณะเป็นหม้อแนวตั้ง และไอน้ำที่ได้มีลักษณะเป็นไอเปียก ที่มีละอองหยดน้ำปนอยู่ในปริมาณมาก ส่งผลให้ประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนความร้อนต่ำ สิ้นเปลืองเชื้อเพลิงสูง และไม่มีระบบด้านความปลอดภัย จึงมีแนวคิดในการพัฒนาหม้อผลิตไอน้ำประสิทธิภาพสูงสำหรับนึ่งก้อนเชื้อเห็ด
เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
  • Goal 1: ขจัดความยากจน
  • Goal 2: ความหิวสาบสูญ
  • Goal 8: การจ้างงานที่มีคุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ
  • Goal 12: แผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน
ผู้ดำเนินโครงการหลัก
  • มหาวิทยาลัยทักษิณ
  • ผู้ได้รับประโยชน์หลัก
  • กลุ่มอาชีพเพาะเห็ดนางฟ้าเชิงอนุรักษ์ บ้านป่าพงศ์ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
  • คณะกรรมการ และสมาชิกกลุ่มอาชีพเพาะเห็ดนางฟ้าเชิงอนุรักษ์ บ้านป่าพงศ์ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
  • ผู้สนับสนุนหล่งทุน
  • สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.)
  • ภาคีสนับสนุนด้านต่างๆ
    วิธีการประเมิน ประเมินหลังจากการดำเนินโครงการ
    ระยะเวลาในการประเมิน 01/10/2020 - 30/09/2021
    ประเภทการประเมิน Social Return on Investment
    ผู้ประเมิน สกุลทิพย์ กีรติพันธวงศ์ และคณะ
    รูปแบบการประเมิน ประเมินโดยผู้ประเมินทางสังคม
    สถานะการรับรอง -- ไม่ระบุ --
    รูปแบบการประเมิน evaluation
    มูลค่าโครงการ 4,909,164.00 บาท
    SROI RATIO 5.52 เท่า

    ผลสัมฤทธิ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม (SIA & SROI)

    มิติด้านเศรษฐกิจ/การเงิน (EC : ECONOMICS)
    ไม่ระบุ
    • รายได้จากการขายก้อนเห็ดที่เพาะเชื้อแล้วเพิ่มขึ้น รวม 906,957 บาท
    • คณะกรรมการและสมาชิกเกิดองค์ความรู้หรือทักษะที่เพิ่มขึ้น รวม 175,540 บาท
    • เกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 72,864 บาท
    • เกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 149,016 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดเป็นสถานที่ต้นแบบ/โมเดลต้นแบบ รวม 453,478 บาท
    • เกิดองค์ความรู้/ผลงานที่เพิ่มขึ้น รวม 83,274 บาท
    • จำนวนงบประมาณ สิ่งสนับสนุนต่าง ๆ ที่ได้รับเพิ่มขึ้น รวม 117,971 บาท
    • งบประมาณ/ทรัพยากร/ทุนสนับสนุนในการดำเนินงานที่เพิ่มขึ้น รวม 615,435 บาท
    • รายได้จากการแบ่งกำไร (ปันผล) เพิ่มขึ้น รวม 217,670 บาท
    • จำนวนงบประมาณ สิ่งสนับสนุนต่าง ๆ ที่ได้รับเพิ่มขึ้น รวม 58,986 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดการพัฒนานวัตกรรมการผลิตและการเกษตรเพิ่มขึ้น รวม 777,391 บาท
    • รายได้จากการขายก้อนเห็ดที่เพาะเชื้อแล้วเพิ่มขึ้น รวม 906,957 บาท
    • คณะกรรมการและสมาชิกเกิดองค์ความรู้หรือทักษะที่เพิ่มขึ้น รวม 175,540 บาท
    • เกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 72,864 บาท
    • เกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 149,016 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดเป็นสถานที่ต้นแบบ/โมเดลต้นแบบ รวม 453,478 บาท
    • เกิดองค์ความรู้/ผลงานที่เพิ่มขึ้น รวม 83,274 บาท
    • จำนวนงบประมาณ สิ่งสนับสนุนต่าง ๆ ที่ได้รับเพิ่มขึ้น รวม 117,971 บาท
    • งบประมาณ/ทรัพยากร/ทุนสนับสนุนในการดำเนินงานที่เพิ่มขึ้น รวม 615,435 บาท
    • รายได้จากการแบ่งกำไร (ปันผล) เพิ่มขึ้น รวม 217,670 บาท
    • จำนวนงบประมาณ สิ่งสนับสนุนต่าง ๆ ที่ได้รับเพิ่มขึ้น รวม 58,986 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดการพัฒนานวัตกรรมการผลิตและการเกษตรเพิ่มขึ้น รวม 777,391 บาท
    มิติด้านสังคม/คุณภาพชีวิต (SO : SOCIAL)
    ไม่ระบุ
    • คณะกรรมการและสมาชิกเกิดความมั่นคงในการประกอบอาชีพเพิ่มขึ้น รวม 91,281 บาท
    • คณะกรรมการ เกิดความภาคภูมิใจในการเป็นผู้นำในวิสาหกิจชุมชนฯ รวม 84,259 บาท
    • เกิดความภาคภูมิใจจากการสร้างการพึ่งพาตนเองได้ของชุมชน รวม 34,697 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่าง ๆ เพิ่มขึ้น รวม 55,881 บาท
    • คณะกรรมการและสมาชิกเกิดการรวมกลุ่ม/ทำกิจกรรมมากขึ้น รวม 133,410 บาท
    • เกิดจากการดำเนินงานร่วมกับชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 86,926 บาท
    • ส่งเสริมการดำเนินงานเพิ่มผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานมากขึ้น รวม 180,061 บาท
    • กลุ่มฯ เป็นที่รู้จักเพิ่มมากขึ้น ภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 323,913 บาท
    • หน่วยงานสามารถบริหารจัดการโครงการฯ ร่วมกับชุมชนได้ดีขึ้น รวม 48,576 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จักเพิ่มขึ้น ภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 31,045 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จักเพิ่มขึ้น ภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 24,288 บาท
    • คณะกรรมการและสมาชิกเกิดความมั่นคงในการประกอบอาชีพเพิ่มขึ้น รวม 91,281 บาท
    • คณะกรรมการ เกิดความภาคภูมิใจในการเป็นผู้นำในวิสาหกิจชุมชนฯ รวม 84,259 บาท
    • เกิดความภาคภูมิใจจากการสร้างการพึ่งพาตนเองได้ของชุมชน รวม 34,697 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่าง ๆ เพิ่มขึ้น รวม 55,881 บาท
    • คณะกรรมการและสมาชิกเกิดการรวมกลุ่ม/ทำกิจกรรมมากขึ้น รวม 133,410 บาท
    • เกิดจากการดำเนินงานร่วมกับชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 86,926 บาท
    • ส่งเสริมการดำเนินงานเพิ่มผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานมากขึ้น รวม 180,061 บาท
    • กลุ่มฯ เป็นที่รู้จักเพิ่มมากขึ้น ภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 323,913 บาท
    • หน่วยงานสามารถบริหารจัดการโครงการฯ ร่วมกับชุมชนได้ดีขึ้น รวม 48,576 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จักเพิ่มขึ้น ภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 31,045 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จักเพิ่มขึ้น ภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 24,288 บาท
    มิติด้านสิ่งแวดล้อม (EN : ENVIRONMENT)
    ไม่ระบุ
    • กลุ่มฯ ลดการใช้พลังงานสิ้นเปลืองและการปล่อยของเสียสู่ชั้นบรรยากาศ รวม 161,957 บาท
    • เกิดความตระหนักในการอนุรักษ์ธรรมชาติในชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 24,288 บาท
    • กลุ่มฯ ลดการใช้พลังงานสิ้นเปลืองและการปล่อยของเสียสู่ชั้นบรรยากาศ รวม 161,957 บาท
    • เกิดความตระหนักในการอนุรักษ์ธรรมชาติในชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 24,288 บาท
    SROI RATIO: 5.52
    หมายถึง 1 บาทที่ลงทุนในโครงการสามารถสร้างผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมคิดเป็นมูลค่า 5.52 บาท
    IMPACT DIMENSION
    เศรษฐกิจ
    73.91%
    (7.26 M)
    สังคม
    22.29%
    (2.19 M)
    สิ่งแวดล้อม
    3.79%
    (0.37 M)
    มูลค่าโครงการ: 4,909,164.00 บาท