IMPACT REPORT

ให้คะแนน Impact Report นี้
Viewer: {{ impModel.log_view }}
Average Rating: {{ impModel.rate_avg }}
ชื่อโครงการ โครงการผักเหลียงใบใหญ่ครบวงจร
ประเภทโครงการ อาหารและการเกษตร (Food and Agriculture)
ผู้ขับเคลื่อนโครงการทางสังคม Unregistered IC
ปีที่ดำเนินโครงการ 2020
ภูมิภาค
จังหวัด พัทลุง
รายละเอียดโครงการโดยย่อ อต้าร์ฟาร์มเป็นกลุ่มที่บุกเบิกนําพันธุ์ผักเหลียงใบใหญ่มาปลูก ในพื้นที่ตําบลเขาย่า โดยคุณสมบัติเด่นของผักเหลียงใบใหญ่ที่มี ความแตกต่างจากผักเหลียงพันธุ์ปกติ คือ ใบมีเขียว มีขนาด ใหญ่และหนา ไม่กระด้าง ไม่เหนียว มีรสชาติมัน และความขม น้อยหรือเกือบไม่มีความขมเลย สามารถนําไปพัฒนาผลิตภัณฑ์ อาหารและประกอบอาหารได้หลากหลาย สามารถเพิ่มรายได้ ให้กับเกษตรกร ผักเหลียงหนึ่งต้นสามารถให้ผลผลิตได้ตลอดปี
เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
  • Goal 2: ความหิวสาบสูญ
  • Goal 8: การจ้างงานที่มีคุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ
  • Goal 9: อุตสาหกรรม นวัตกรรม โครงสร้างพื้นฐาน
  • Goal 12: แผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน
ผู้ดำเนินโครงการหลัก
  • มหาวิทยาลัยทักษิณ
  • ผู้ได้รับประโยชน์หลัก
  • กลุ่มวิสาหกิจชุมชน
  • คณะกรรมการ และสมาชิก กลุ่มฯ
  • ผู้สนับสนุนหล่งทุน
  • สํานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.)
  • ภาคีสนับสนุนด้านต่างๆ
  • ชุมชน
  • วิธีการประเมิน ประเมินหลังจากการดำเนินโครงการ
    ระยะเวลาในการประเมิน 01/10/2020 - 30/09/2021
    ประเภทการประเมิน Social Return on Investment
    ผู้ประเมิน สกุลทิพย์ กีรติพันธวงศ์ และคณะ
    รูปแบบการประเมิน ประเมินโดยผู้ประเมินทางสังคม
    สถานะการรับรอง -- ไม่ระบุ --
    รูปแบบการประเมิน evaluation
    มูลค่าโครงการ 2,470,042.00 บาท
    SROI RATIO 3.96 เท่า

    ผลสัมฤทธิ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม (SIA & SROI)

    มิติด้านเศรษฐกิจ/การเงิน (EC : ECONOMICS)
    ไม่ระบุ
    • กำลังการผลิตตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ในการผลิตผักเหลียงและชาเพิ่มขึ้น รวม 232,051 บาท
    • รายได้จากการประกอบอาชีพเดิมที่เพิ่มขึ้น รวม 90,696 บาท
    • เกิดการรับซื้อจากชุมชนเฉลี่ย เดือนละ 1 ครั้ง จำนวนเกษตรกร 3 คน และมีค่าใช้จ่ายในการซื้อวัตถุดิบ 3,000 บาทต่อครั้ง - เดือนละ 1 ครั้ง x 9 เดือน x 3,000 บาท = 27,000 บาท รวม 34,983 บาท
    • คณะกรรมการและสมาชิกเกิดองค์ความรู้หรือทักษะที่เพิ่มขึ้น รวม 117,371 บาท
    • เกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 53,434 บาท
    • เกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 122,039 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดการพัฒนาแปรรูปและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ทางการตลาดเพิ่มขึ้น รวม 194,923 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดเป็นสถานที่ต้นแบบ/โมเดลต้นแบบ รวม 129,949 บาท
    • เกิดองค์ความรู้/ผลงานที่เพิ่มขึ้น รวม 63,149 บาท
    • เกิดการเข้าถึงงบประมาณ/ทรัพยากร/ทุนสนับสนุนในการดำเนินงานที่เพิ่มขึ้น รวม 167,077 บาท
    • ได้รับงบประมาณสนับสนุนเฉลี่ย 35,000 บาท รวม 41,290 บาท
    • ได้รับงบประมาณสนับสนุนเพิ่มขึ้น รวม 196,618 บาท
    • กลุ่มฯ ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีมาตรฐานและมีคุณภาพมากขึ้น รวม 102,103 บาท
    • กำลังการผลิตตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ในการผลิตผักเหลียงและชาเพิ่มขึ้น รวม 232,051 บาท
    • รายได้จากการประกอบอาชีพเดิมที่เพิ่มขึ้น รวม 90,696 บาท
    • เกิดการรับซื้อจากชุมชนเฉลี่ย เดือนละ 1 ครั้ง จำนวนเกษตรกร 3 คน และมีค่าใช้จ่ายในการซื้อวัตถุดิบ 3,000 บาทต่อครั้ง - เดือนละ 1 ครั้ง x 9 เดือน x 3,000 บาท = 27,000 บาท รวม 34,983 บาท
    • คณะกรรมการและสมาชิกเกิดองค์ความรู้หรือทักษะที่เพิ่มขึ้น รวม 117,371 บาท
    • เกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 53,434 บาท
    • เกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 122,039 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดการพัฒนาแปรรูปและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ทางการตลาดเพิ่มขึ้น รวม 194,923 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดเป็นสถานที่ต้นแบบ/โมเดลต้นแบบ รวม 129,949 บาท
    • เกิดองค์ความรู้/ผลงานที่เพิ่มขึ้น รวม 63,149 บาท
    • เกิดการเข้าถึงงบประมาณ/ทรัพยากร/ทุนสนับสนุนในการดำเนินงานที่เพิ่มขึ้น รวม 167,077 บาท
    • ได้รับงบประมาณสนับสนุนเฉลี่ย 35,000 บาท รวม 41,290 บาท
    • ได้รับงบประมาณสนับสนุนเพิ่มขึ้น รวม 196,618 บาท
    • กลุ่มฯ ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีมาตรฐานและมีคุณภาพมากขึ้น รวม 102,103 บาท
    มิติด้านสังคม/คุณภาพชีวิต (SO : SOCIAL)
    ไม่ระบุ
    • ความเครียด/ความกังวล/ความเสี่ยงในการประกอบอาชีพที่ลดลง รวม 16,005 บาท
    • ความเครียด/ความกังวล/ความเสี่ยงในการประกอบอาชีพลดลง รวม 8,746 บาท
    • องค์กรมีความน่าเชื่อถือ/มีผลการประเมินองค์กรที่ดีขึ้น รวม 142,379 บาท
    • เกิดการส่งเสริมความไว้วางใจ/เชื่อมั่นในการดำเนินงาน รวม 74,579 บาท
    • ลดอัตราการลาออกของสมาชิก/สมาชิกเพิ่มขึ้น รวม 37,128 บาท
    • คณะกรรมการ เกิดความภาคภูมิใจในการเป็นผู้นำในวิสาหกิจชุมชนฯ รวม 32,010 บาท
    • เกิดความภาคภูมิใจจากการสร้างการพึ่งพาตนเองได้ของชุมชน รวม 21,859 บาท
    • ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกที่ดีขึ้น รวม 101,366 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ในครอบครัวดีขึ้น รวม 74,691 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานและชุมชนดีขึ้น รวม 31,575 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ที่ดีขึ้นระหว่างหน่วยงานและชุมชน รวม 94,919 บาท
    • กลุ่มฯ เป็นที่รู้จักเพิ่มมากขึ้น ภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 64,974 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จักเพิ่มขึ้น ภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 31,575 บาท
    • ความเครียด/ความกังวล/ความเสี่ยงในการประกอบอาชีพที่ลดลง รวม 16,005 บาท
    • ความเครียด/ความกังวล/ความเสี่ยงในการประกอบอาชีพลดลง รวม 8,746 บาท
    • องค์กรมีความน่าเชื่อถือ/มีผลการประเมินองค์กรที่ดีขึ้น รวม 142,379 บาท
    • เกิดการส่งเสริมความไว้วางใจ/เชื่อมั่นในการดำเนินงาน รวม 74,579 บาท
    • ลดอัตราการลาออกของสมาชิก/สมาชิกเพิ่มขึ้น รวม 37,128 บาท
    • คณะกรรมการ เกิดความภาคภูมิใจในการเป็นผู้นำในวิสาหกิจชุมชนฯ รวม 32,010 บาท
    • เกิดความภาคภูมิใจจากการสร้างการพึ่งพาตนเองได้ของชุมชน รวม 21,859 บาท
    • ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกที่ดีขึ้น รวม 101,366 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ในครอบครัวดีขึ้น รวม 74,691 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานและชุมชนดีขึ้น รวม 31,575 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ที่ดีขึ้นระหว่างหน่วยงานและชุมชน รวม 94,919 บาท
    • กลุ่มฯ เป็นที่รู้จักเพิ่มมากขึ้น ภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 64,974 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จักเพิ่มขึ้น ภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 31,575 บาท
    มิติด้านสิ่งแวดล้อม (EN : ENVIRONMENT)
    ไม่ระบุ
    • ลดปริมาณการใช้สารเคมีทางการเกษตร รวม 42,680 บาท
    • ลดปริมาณการใช้สารเคมีทางการเกษตร รวม 17,491 บาท
    • เกิดความตระหนักในการอนุรักษ์ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น รวม 58,685 บาท
    • เกิดความตระหนักในการอนุรักษ์ธรรมชาติในชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 47,460 บาท
    • เกิดความตระหนักในการอนุรักษ์ธรรมชาติในชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 26,237 บาท
    • ลดปริมาณการใช้สารเคมีทางการเกษตร รวม 42,680 บาท
    • ลดปริมาณการใช้สารเคมีทางการเกษตร รวม 17,491 บาท
    • เกิดความตระหนักในการอนุรักษ์ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น รวม 58,685 บาท
    • เกิดความตระหนักในการอนุรักษ์ธรรมชาติในชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 47,460 บาท
    • เกิดความตระหนักในการอนุรักษ์ธรรมชาติในชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 26,237 บาท
    SROI RATIO: 3.96
    หมายถึง 1 บาทที่ลงทุนในโครงการสามารถสร้างผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมคิดเป็นมูลค่า 3.96 บาท
    IMPACT DIMENSION
    เศรษฐกิจ
    62.58%
    (3.09 M)
    สังคม
    29.63%
    (1.46 M)
    สิ่งแวดล้อม
    7.8%
    (0.39 M)
    มูลค่าโครงการ: 2,470,042.00 บาท