IMPACT REPORT

ให้คะแนน Impact Report นี้
Viewer: {{ impModel.log_view }}
Average Rating: {{ impModel.rate_avg }}
ชื่อโครงการ โครงการโรงเรือนเพาะเลี้ยงหม่อนไหมชุมชนท่าเรือ
ประเภทโครงการ อาหารและการเกษตร (Food and Agriculture)
ผู้ขับเคลื่อนโครงการทางสังคม Unregistered IC
ปีที่ดำเนินโครงการ 2021
ภูมิภาค
จังหวัด นครพนม
รายละเอียดโครงการโดยย่อ ปัญหาสำคัญของการเลี้ยงไหมของชาวบ้านและเอกชนเป็นเรื่องการควบคุมลมฟ้าอากาศไม่ได้และกระทบต่อตัวไหมเองอ่อนแอกระทบต่อกำลังผลิตที่น้อยกระทบต่อต้นทุนการผลิต และนอกจากจะกระทบต่อชาวบ้านผู้เลี้ยงหม่อนไหมแล้วยังกระทบภาคเอกชนผู้เลี้ยงไหมเช่นฟาร์มหม่อนไหม ดังนั้นหากสามารถพัฒนาระบบควบคุมอากาศที่มีประสิทธภาพได้จะเป็นการแก้ปัญหาทั้งด้านการผลิตและคุณภาพการผลิตไหมและลดต้นทุนได้เกือบทั้งระบบ โดยใช้นวัตกรรมมาสร้างโรงเรือนแบบปิดที่ควบคุมอุณหภูมิ ความชื้นความเร็วลม พัฒนาประสิทธิภาพให้สามารถทำลมเย็นได้มากกว่าเดิมด้วยการประหยัดพลังงานที่ใกล้เคียงระบบเดิมด้วยการพัฒนาสร้างโรงเรือนและนำชุดระบบมาประกอบใช้กับโรงเรือนเพื่อเลี้ยงหม่อนไหมและติดตั้งระบบดูดอากาศถ่ายเทอากาศควบคุมการทำงานด้วยคอนโทรลเลอร์จอทัชสกรีน 4 นิ้ว ปรับตั้งค่าได้ เน้นใช้งานง่าย ปรับตั้งค่าได้ง่าย ซึ่งเป็นระบบโรงเรือนเลี้ยงไหมที่ควบคุมอุณหภูมิ
เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
  • Goal 8: การจ้างงานที่มีคุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ
  • Goal 9: อุตสาหกรรม นวัตกรรม โครงสร้างพื้นฐาน
  • Goal 12: แผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน
ผู้ดำเนินโครงการหลัก
  • นักวิจัย บริษัท ไททัม อินดัสเทรียล จำกัด
  • ผู้ได้รับประโยชน์หลัก
  • วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ตำบลท่าเรือ
  • คณะกรรมการ และสมาชิกกลุ่มฯ -วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ตำบลท่าเรือ
  • ผู้สนับสนุนหล่งทุน
  • สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.)
  • ภาคีสนับสนุนด้านต่างๆ
    วิธีการประเมิน ประมาณการณ์
    ระยะเวลาในการประเมิน 01/01/2021 - 30/09/2021
    ประเภทการประเมิน Social Return on Investment
    ผู้ประเมิน สกุลทิพย์ กีรติพันธวงศ์ และคณะ
    รูปแบบการประเมิน ประเมินโดยผู้ประเมินทางสังคม
    สถานะการรับรอง -- ไม่ระบุ --
    รูปแบบการประเมิน feasibility
    มูลค่าโครงการ 7,631,051.00 บาท
    SROI RATIO 4.68 เท่า

    ผลสัมฤทธิ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม (SIA & SROI)

    มิติด้านเศรษฐกิจ/การเงิน (EC : ECONOMICS)
    ไม่ระบุ
    • กลุ่มฯ เกิดการพัฒนานวัตกรรมการผลิตและการเกษตรที่เพิ่มขึ้น รวม 1,833,043 บาท
    • ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มฯ มีมาตรฐานและมีคุณภาพมากขึ้น รวม 0 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดเป็นสถานที่ต้นแบบ/โมเดลต้นแบบ รวม 1,110,935 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดการบริหารจัดการที่ดีขึ้น รวม 1,499,763 บาท
    • คณะกรรมการ และสมาชิกเกิดองค์ความรู้หรือทักษะที่เพิ่มขึ้น รวม 181,939 บาท
    • คณะกรรมการและสมาชิกเกิดความมั่นคงในอาชีพเดิมเพิ่มขึ้น รวม 150,570 บาท
    • เกิดผลงาน/งานวิจัย หรือการต่อยอดองค์ความรู้/ผลงานที่เพิ่มขึ้น รวม 122,161 บาท
    • นักวิจัยเกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 105,503 บาท
    • เกิดโอกาสในการเข้าถึงงบประมาณ/ทรัพยากร/การสนับสนุนต่าง ๆ เพิ่มขึ้น รวม 77,739 บาท
    • เกิดการขยายโอกาสทางธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับโครงการฯ รวม 94,398 บาท
    • องค์กรมีความน่าเชื่อถือ/มีผลการประเมินองค์กรที่ดีขึ้น รวม 169,807 บาท
    • บุคลากรเกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 151,932 บาท
    • เกิดโอกาสในการเข้าถึงงบประมาณ/ทรัพยากร/การสนับสนุนต่าง ๆ เพิ่มขึ้น รวม 196,618 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดการพัฒนานวัตกรรมการผลิตและการเกษตรที่เพิ่มขึ้น รวม 1,833,043 บาท
    • ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มฯ มีมาตรฐานและมีคุณภาพมากขึ้น รวม 0 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดเป็นสถานที่ต้นแบบ/โมเดลต้นแบบ รวม 1,110,935 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดการบริหารจัดการที่ดีขึ้น รวม 1,499,763 บาท
    • คณะกรรมการ และสมาชิกเกิดองค์ความรู้หรือทักษะที่เพิ่มขึ้น รวม 181,939 บาท
    • คณะกรรมการและสมาชิกเกิดความมั่นคงในอาชีพเดิมเพิ่มขึ้น รวม 150,570 บาท
    • เกิดผลงาน/งานวิจัย หรือการต่อยอดองค์ความรู้/ผลงานที่เพิ่มขึ้น รวม 122,161 บาท
    • นักวิจัยเกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 105,503 บาท
    • เกิดโอกาสในการเข้าถึงงบประมาณ/ทรัพยากร/การสนับสนุนต่าง ๆ เพิ่มขึ้น รวม 77,739 บาท
    • เกิดการขยายโอกาสทางธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับโครงการฯ รวม 94,398 บาท
    • องค์กรมีความน่าเชื่อถือ/มีผลการประเมินองค์กรที่ดีขึ้น รวม 169,807 บาท
    • บุคลากรเกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 151,932 บาท
    • เกิดโอกาสในการเข้าถึงงบประมาณ/ทรัพยากร/การสนับสนุนต่าง ๆ เพิ่มขึ้น รวม 196,618 บาท
    มิติด้านสังคม/คุณภาพชีวิต (SO : SOCIAL)
    ไม่ระบุ
    • กลุ่มฯ เกิดภาคีเครือข่ายและความร่วมมือในการดำเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่ายเพิ่มขึ้น รวม 722,108 บาท
    • กลุ่มฯ เป็นที่รู้จักและภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 388,827 บาท
    • คณะกรรมการ และสมาชิกเกิดความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกดีขึ้น รวม 56,464 บาท
    • คณะกรรมการ เกิดความภาคภูมิใจมากขึ้น รวม 31,369 บาท
    • หน่วยงานกับชุมชนเกิดความสัมพันธ์ดีขึ้น รวม 61,081 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายอื่น ๆ ในการเป็นที่ปรึกษามากขึ้น รวม 44,422 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จัก ภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 33,317 บาท
    • นักวิจัยเกิดความภาคภูมิใจในการพึ่งพาตนเองมากขึ้น รวม 16,658 บาท
    • เกิดจากการดำเนินงานร่วมกับชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 71,498 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายที่ร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่าง ๆ เพิ่มขึ้น รวม 125,121 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จัก ภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 98,309 บาท
    • เกิดการส่งเสริมความไว้วางใจร่วมกับกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพิ่มขึ้น รวม 53,623 บาท
    • บุคลากรเกิดความตระหนักในการอนุรักษ์ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 26,812 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดภาคีเครือข่ายและความร่วมมือในการดำเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่ายเพิ่มขึ้น รวม 722,108 บาท
    • กลุ่มฯ เป็นที่รู้จักและภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 388,827 บาท
    • คณะกรรมการ และสมาชิกเกิดความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกดีขึ้น รวม 56,464 บาท
    • คณะกรรมการ เกิดความภาคภูมิใจมากขึ้น รวม 31,369 บาท
    • หน่วยงานกับชุมชนเกิดความสัมพันธ์ดีขึ้น รวม 61,081 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายอื่น ๆ ในการเป็นที่ปรึกษามากขึ้น รวม 44,422 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จัก ภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 33,317 บาท
    • นักวิจัยเกิดความภาคภูมิใจในการพึ่งพาตนเองมากขึ้น รวม 16,658 บาท
    • เกิดจากการดำเนินงานร่วมกับชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 71,498 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายที่ร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่าง ๆ เพิ่มขึ้น รวม 125,121 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จัก ภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 98,309 บาท
    • เกิดการส่งเสริมความไว้วางใจร่วมกับกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพิ่มขึ้น รวม 53,623 บาท
    • บุคลากรเกิดความตระหนักในการอนุรักษ์ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 26,812 บาท
    มิติด้านสิ่งแวดล้อม (EN : ENVIRONMENT)
    ไม่ระบุ
    • เกิดความตระหนักในการอนุรักษ์ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 87,833 บาท
    • เกิดการลดปริมาณการใช้สารเคมีทางการเกษตรมากขึ้น รวม 119,201 บาท
    • เกิดความตระหนักในการอนุรักษ์ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 87,833 บาท
    • เกิดการลดปริมาณการใช้สารเคมีทางการเกษตรมากขึ้น รวม 119,201 บาท
    SROI RATIO: 4.68
    หมายถึง 1 บาทที่ลงทุนในโครงการสามารถสร้างผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมคิดเป็นมูลค่า 4.68 บาท
    IMPACT DIMENSION
    เศรษฐกิจ
    74.62%
    (11.39 M)
    สังคม
    22.67%
    (3.46 M)
    สิ่งแวดล้อม
    2.71%
    (0.41 M)
    มูลค่าโครงการ: 7,631,051.00 บาท