IMPACT REPORT

ให้คะแนน Impact Report นี้
Viewer: {{ impModel.log_view }}
Average Rating: {{ impModel.rate_avg }}
ชื่อโครงการ โครงการการพัฒนาระบบบริหารจัดการผลิตปิ่นโตร้อยสายวิสาหกิจชุมชนเครือข่ายเพื่อการท่องเที่ยว บ้านตะโหมด ตำบลตะโหมด อำเภอ ตะโหมด จังหวัดพัทลุง
ประเภทโครงการ เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular)
ผู้ขับเคลื่อนโครงการทางสังคม Unregistered IC
ปีที่ดำเนินโครงการ 2020
ภูมิภาค
จังหวัด พัทลุง
รายละเอียดโครงการโดยย่อ วิสาหกิจชุมชนเพื่อการท่องเที่ยวชุมชนตะโหมด จังหวัดพัทลุง ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก จึงนำผลผลิตมาทำการการแปรรูปอาหารจากครัวเรือนเพื่อให้บริการอาหารคุณภาพจากวัตถุดิบในชุมชน ในรูปแบบของ “ปิ่นโตร้อยสาย” และเนื่องด้วยการขยายสมาชิกในกลุ่ม จำเป็นต้องมีกระบวนการบริหารจัดการการผลิตที่เป็นมาตรฐานเพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค และในการบริหารจัดการรายได้เพื่อความยั่งยืนของชุมชน
เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
  • Goal 1: ขจัดความยากจน
  • Goal 4: การศึกษาที่เท่าเทียม
  • Goal 8: การจ้างงานที่มีคุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ
  • Goal 17: ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ผู้ดำเนินโครงการหลัก
  • มหาวิทยาลัยทักษิณ
  • ผู้ได้รับประโยชน์หลัก
  • กลุ่มวิสาหกิจชุมชน
  • คณะกรรมการ และสมาชิกกลุ่มฯ
  • ผู้สนับสนุนหล่งทุน
  • สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.)
  • ภาคีสนับสนุนด้านต่างๆ
  • ชุมชน
  • วิธีการประเมิน ประเมินหลังจากการดำเนินโครงการ
    ระยะเวลาในการประเมิน 01/10/2020 - 30/09/2021
    ประเภทการประเมิน Social Return on Investment
    ผู้ประเมิน สกุลทิพย์ กีรติพันธวงศ์ และคณะ
    รูปแบบการประเมิน ประเมินโดยผู้ประเมินทางสังคม
    สถานะการรับรอง -- ไม่ระบุ --
    รูปแบบการประเมิน evaluation
    มูลค่าโครงการ 3,892,256.00 บาท
    SROI RATIO 5.01 เท่า

    ผลสัมฤทธิ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม (SIA & SROI)

    มิติด้านเศรษฐกิจ/การเงิน (EC : ECONOMICS)
    ไม่ระบุ
    • มีรายได้/งบประมาณ/ทรัพยากรเพิ่มขึ้น รวม 46,643 บาท
    • มีงบประมาณ/ทรัพยากร/ทุนสนับสนุนในการดำเนินงานที่เพิ่มขึ้น รวม 524,739 บาท
    • มีรายได้เพิ่มขึ้น รวม 169,391 บาท
    • คณะกรรมการ และสมาชิกเกิดองค์ความรู้หรือทักษะที่เพิ่มขึ้น รวม 440,781 บาท
    • เกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 67,051 บาท
    • เกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 182,677 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดเป็นสถานที่ต้นแบบ/โมเดลต้นแบบ รวม 24,255 บาท
    • มีองค์ความรู้/ผลงานที่เพิ่มขึ้น รวม 84,696 บาท
    • มีงบประมาณ/ทรัพยากร/ทุนสนับสนุนในการดำเนินงานที่เพิ่มขึ้น รวม 35,449 บาท
    • มีงบประมาณ/ทรัพยากร/ทุนสนับสนุนในการดำเนินงานที่เพิ่มขึ้น รวม 98,812 บาท
    • มีรายได้/งบประมาณ/ทรัพยากรเพิ่มขึ้น รวม 141,159 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดการพัฒนากระบวนการท่องเที่ยวและพัฒนาชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 57,838 บาท
    • มีรายได้/งบประมาณ/ทรัพยากรเพิ่มขึ้น รวม 46,643 บาท
    • มีงบประมาณ/ทรัพยากร/ทุนสนับสนุนในการดำเนินงานที่เพิ่มขึ้น รวม 524,739 บาท
    • มีรายได้เพิ่มขึ้น รวม 169,391 บาท
    • คณะกรรมการ และสมาชิกเกิดองค์ความรู้หรือทักษะที่เพิ่มขึ้น รวม 440,781 บาท
    • เกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 67,051 บาท
    • เกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 182,677 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดเป็นสถานที่ต้นแบบ/โมเดลต้นแบบ รวม 24,255 บาท
    • มีองค์ความรู้/ผลงานที่เพิ่มขึ้น รวม 84,696 บาท
    • มีงบประมาณ/ทรัพยากร/ทุนสนับสนุนในการดำเนินงานที่เพิ่มขึ้น รวม 35,449 บาท
    • มีงบประมาณ/ทรัพยากร/ทุนสนับสนุนในการดำเนินงานที่เพิ่มขึ้น รวม 98,812 บาท
    • มีรายได้/งบประมาณ/ทรัพยากรเพิ่มขึ้น รวม 141,159 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดการพัฒนากระบวนการท่องเที่ยวและพัฒนาชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 57,838 บาท
    มิติด้านสังคม/คุณภาพชีวิต (SO : SOCIAL)
    ไม่ระบุ
    • ความเครียด/ความกังวล/ความเสี่ยงในการทำงานลดลง รวม 83,958 บาท
    • องค์กรมีความน่าเชื่อถือ/มีผลการประเมินองค์กรที่ดีขึ้น รวม 215,891 บาท
    • เกิดความภาคภูมิใจในการเป็นผู้นำในวิสาหกิจชุมชนฯ รวม 167,917 บาท
    • เกิดความภาคภูมิใจจากการสร้างการพึ่งพาตนเองได้ของชุมชน รวม 17,645 บาท
    • ส่งเสริมความไว้วางใจ/เชื่อมั่นในการดำเนินงาน รวม 127,043 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกที่ดีขึ้น รวม 377,812 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ในครอบครัวดีขึ้น รวม 230,885 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานและชุมชนดีขึ้น รวม 49,406 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ที่ดีขึ้นระหว่างหน่วยงานและชุมชน รวม 107,945 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ในครอบครัวดีขึ้น รวม 74,731 บาท
    • กลุ่มฯ เป็นที่รู้จักเพิ่มมากขึ้น ภาพลักษณ์ดีขึ้น รวม 22,389 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จักเพิ่มขึ้น ภาพลักษณ์ดีขึ้น รวม 35,290 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จักเพิ่มขึ้น ภาพลักษณ์ดีขึ้น รวม 107,945 บาท
    • ความเครียด/ความกังวล/ความเสี่ยงในการทำงานลดลง รวม 83,958 บาท
    • องค์กรมีความน่าเชื่อถือ/มีผลการประเมินองค์กรที่ดีขึ้น รวม 215,891 บาท
    • เกิดความภาคภูมิใจในการเป็นผู้นำในวิสาหกิจชุมชนฯ รวม 167,917 บาท
    • เกิดความภาคภูมิใจจากการสร้างการพึ่งพาตนเองได้ของชุมชน รวม 17,645 บาท
    • ส่งเสริมความไว้วางใจ/เชื่อมั่นในการดำเนินงาน รวม 127,043 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกที่ดีขึ้น รวม 377,812 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ในครอบครัวดีขึ้น รวม 230,885 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานและชุมชนดีขึ้น รวม 49,406 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ที่ดีขึ้นระหว่างหน่วยงานและชุมชน รวม 107,945 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ในครอบครัวดีขึ้น รวม 74,731 บาท
    • กลุ่มฯ เป็นที่รู้จักเพิ่มมากขึ้น ภาพลักษณ์ดีขึ้น รวม 22,389 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จักเพิ่มขึ้น ภาพลักษณ์ดีขึ้น รวม 35,290 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จักเพิ่มขึ้น ภาพลักษณ์ดีขึ้น รวม 107,945 บาท
    มิติด้านสิ่งแวดล้อม (EN : ENVIRONMENT)
    ไม่ระบุ
    • ลดปริมาณการใช้สารเคมีทางการเกษตร รวม 84,696 บาท
    • เกิดความตระหนักในการใช้สารเคมีทางการเกษตร รวม 272,864 บาท
    • เกิดความตระหนักในการอนุรักษ์ธรรมชาติในชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 42,348 บาท
    • ลดปริมาณการใช้สารเคมีทางการเกษตร รวม 84,696 บาท
    • เกิดความตระหนักในการใช้สารเคมีทางการเกษตร รวม 272,864 บาท
    • เกิดความตระหนักในการอนุรักษ์ธรรมชาติในชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 42,348 บาท
    SROI RATIO: 5.01
    หมายถึง 1 บาทที่ลงทุนในโครงการสามารถสร้างผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมคิดเป็นมูลค่า 5.01 บาท
    IMPACT DIMENSION
    เศรษฐกิจ
    48.13%
    (3.75 M)
    สังคม
    41.59%
    (3.24 M)
    สิ่งแวดล้อม
    10.27%
    (0.80 M)
    มูลค่าโครงการ: 3,892,256.00 บาท