IMPACT REPORT

ให้คะแนน Impact Report นี้
Viewer: {{ impModel.log_view }}
Average Rating: {{ impModel.rate_avg }}
ชื่อโครงการ โครงการการแปรรูปเศษเหลือใช้จากกระบวนเก็บน้ําผึ้งชันโรงสู่นวัตกรรม เครื่องสําอางที่มีส่วนผสมของพรอพอลิสจากชันโรงที่มีฤทธิ์ยับยั้งแบคทีเรียที่ ก่อให้เกิดสิวและลดการอักเสบ
ประเภทโครงการ การพัฒนาสังคม (Social)
ผู้ขับเคลื่อนโครงการทางสังคม Unregistered IC
ปีที่ดำเนินโครงการ 2020
ภูมิภาค
จังหวัด พัทลุง
รายละเอียดโครงการโดยย่อ ลุ่มวิสาหกิจชุมชนธนาคารผึ้งและชันโรงบางแก้ว (ภาคใต้) มี เป้าหมายในการอนุรักษ์สายพันธุ์ผึ้งและชันโรงเชิงสร้างสรรค์ เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับสมาชิก และมีการส่งเสริมให้สมาชิกลด การใช้ยาฆ่าแมลง และสารเคมีอันตราย นอกจากนี้ยังเพิ่ม ช่องทางโอกาสการพัฒนาเป็นนวัตกรรมเครื่องสําอางที่มี ส่วนผสมของพรอพอลิสจากชันโรงที่มีเลี้ยงอยู่ในพื้นที่ เพื่อเพิ่ม มูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์
เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
  • Goal 2: ความหิวสาบสูญ
  • Goal 8: การจ้างงานที่มีคุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ
  • Goal 9: อุตสาหกรรม นวัตกรรม โครงสร้างพื้นฐาน
  • Goal 12: แผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน
  • Goal 13: การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ผู้ดำเนินโครงการหลัก
  • มหาวิทยาลัยทักษิณ
  • ผู้ได้รับประโยชน์หลัก
  • กลุ่มวิสาหกิจชุมชนธนาคารผ้ึงและ ชันโรงบางแก้ว
  • สมาชิกวิสาหกิจชุมชนธนาคารผึ้ง และชันโรงบางแก้ว
  • ผู้สนับสนุนหล่งทุน
  • สํานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.)
  • ภาคีสนับสนุนด้านต่างๆ
    วิธีการประเมิน ประเมินหลังจากการดำเนินโครงการ
    ระยะเวลาในการประเมิน 01/10/2020 - 30/09/2021
    ประเภทการประเมิน Social Return on Investment
    ผู้ประเมิน สกุลทิพย์ กีรติพันธวงศ์ และคณะ
    รูปแบบการประเมิน ประเมินโดยผู้ประเมินทางสังคม
    สถานะการรับรอง -- ไม่ระบุ --
    รูปแบบการประเมิน evaluation
    มูลค่าโครงการ 4,831,184.00 บาท
    SROI RATIO 5.08 เท่า

    ผลสัมฤทธิ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม (SIA & SROI)

    มิติด้านเศรษฐกิจ/การเงิน (EC : ECONOMICS)
    ไม่ระบุ
    • เพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกรในกลุ่มที่ผลิตเครื่องสำอาง รวม 687,559 บาท
    • มูลค่าของรายได้ที่เพิ่มขึ้น รวม 373,580 บาท
    • คณะกรรมการและสมาชิกเกิดองค์ความรู้หรือทักษะที่เพิ่มขึ้น รวม 316,106 บาท
    • เกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 24,620 บาท
    • เกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 131,850 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดเป็นสถานที่ต้นแบบ/โมเดลต้นแบบ รวม 356,512 บาท
    • มีองค์ความรู้/ผลงานที่เพิ่มขึ้น รวม 29,236 บาท
    • งบประมาณ/ทรัพยากร/ทุนสนับสนุนในการดำเนินงานที่เพิ่มขึ้น รวม 229,186 บาท
    • มีงบประมาณ สิ่งของที่ได้รับสนับสนุนเพิ่มขึ้น รวม 35,391 บาท
    • มีงบประมาณ สิ่งของที่ได้รับสนับสนุนเพิ่มขึ้น รวม 117,971 บาท
    • กลุ่มฯ มีผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีมาตรฐานและมีคุณภาพมากขึ้น รวม 458,373 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดการพัฒนาแปรรูปและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ทางการตลาดเพิ่มขึ้น รวม 585,699 บาท
    • เพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกรในกลุ่มที่ผลิตเครื่องสำอาง รวม 687,559 บาท
    • มูลค่าของรายได้ที่เพิ่มขึ้น รวม 373,580 บาท
    • คณะกรรมการและสมาชิกเกิดองค์ความรู้หรือทักษะที่เพิ่มขึ้น รวม 316,106 บาท
    • เกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 24,620 บาท
    • เกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 131,850 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดเป็นสถานที่ต้นแบบ/โมเดลต้นแบบ รวม 356,512 บาท
    • มีองค์ความรู้/ผลงานที่เพิ่มขึ้น รวม 29,236 บาท
    • งบประมาณ/ทรัพยากร/ทุนสนับสนุนในการดำเนินงานที่เพิ่มขึ้น รวม 229,186 บาท
    • มีงบประมาณ สิ่งของที่ได้รับสนับสนุนเพิ่มขึ้น รวม 35,391 บาท
    • มีงบประมาณ สิ่งของที่ได้รับสนับสนุนเพิ่มขึ้น รวม 117,971 บาท
    • กลุ่มฯ มีผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีมาตรฐานและมีคุณภาพมากขึ้น รวม 458,373 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดการพัฒนาแปรรูปและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ทางการตลาดเพิ่มขึ้น รวม 585,699 บาท
    มิติด้านสังคม/คุณภาพชีวิต (SO : SOCIAL)
    ไม่ระบุ
    • ความเครียด/ความกังวล/ความเสี่ยงในการประกอบอาชีพที่ลดลง รวม 129,316 บาท
    • องค์กรมีความน่าเชื่อถือ/มีผลการประเมินองค์กรที่ดีขึ้น รวม 152,668 บาท
    • ความไว้วางใจ/เชื่อมั่นในการดำเนินงานเพิ่มขึ้น รวม 41,637 บาท
    • คณะกรรมการและสมาชิกเกิดความภาคภูมิใจในการเป็นผู้นำในวิสาหกิจชุมชนฯ รวม 186,790 บาท
    • เกิดความภาคภูมิใจจากการสร้างการพึ่งพาตนเองได้ของชุมชน รวม 15,388 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่าง ๆ เพิ่มขึ้น รวม 76,334 บาท
    • ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกที่ดีขึ้น รวม 244,264 บาท
    • ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานและชุมชนดีขึ้น รวม 20,004 บาท
    • ความสัมพันธ์ที่ดีขึ้นระหว่างหน่วยงานและชุมชน รวม 97,153 บาท
    • กลุ่มฯ เป็นที่รู้จักเพิ่มมากขึ้น ภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 229,186 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จักเพิ่มขึ้น ภาพลักษณ์ดีขึ้น รวม 20,004 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จักเพิ่มขึ้น ภาพลักษณ์ดีขึ้น รวม 55,516 บาท
    • ความเครียด/ความกังวล/ความเสี่ยงในการประกอบอาชีพที่ลดลง รวม 129,316 บาท
    • องค์กรมีความน่าเชื่อถือ/มีผลการประเมินองค์กรที่ดีขึ้น รวม 152,668 บาท
    • ความไว้วางใจ/เชื่อมั่นในการดำเนินงานเพิ่มขึ้น รวม 41,637 บาท
    • คณะกรรมการและสมาชิกเกิดความภาคภูมิใจในการเป็นผู้นำในวิสาหกิจชุมชนฯ รวม 186,790 บาท
    • เกิดความภาคภูมิใจจากการสร้างการพึ่งพาตนเองได้ของชุมชน รวม 15,388 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่าง ๆ เพิ่มขึ้น รวม 76,334 บาท
    • ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกที่ดีขึ้น รวม 244,264 บาท
    • ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานและชุมชนดีขึ้น รวม 20,004 บาท
    • ความสัมพันธ์ที่ดีขึ้นระหว่างหน่วยงานและชุมชน รวม 97,153 บาท
    • กลุ่มฯ เป็นที่รู้จักเพิ่มมากขึ้น ภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 229,186 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จักเพิ่มขึ้น ภาพลักษณ์ดีขึ้น รวม 20,004 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จักเพิ่มขึ้น ภาพลักษณ์ดีขึ้น รวม 55,516 บาท
    มิติด้านสิ่งแวดล้อม (EN : ENVIRONMENT)
    ไม่ระบุ
    • หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีทางการเกษตรในพื้นที่เลี้ยงมากขึ้น รวม 186,790 บาท
    • เกิดความตระหนักในการอนุรักษ์ธรรมชาติในชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 9,233 บาท
    • เกิดความตระหนักในการอนุรักษ์ธรรมชาติในชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 20,818 บาท
    • หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีทางการเกษตรในพื้นที่เลี้ยงมากขึ้น รวม 186,790 บาท
    • เกิดความตระหนักในการอนุรักษ์ธรรมชาติในชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 9,233 บาท
    • เกิดความตระหนักในการอนุรักษ์ธรรมชาติในชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 20,818 บาท
    SROI RATIO: 5.08
    หมายถึง 1 บาทที่ลงทุนในโครงการสามารถสร้างผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมคิดเป็นมูลค่า 5.08 บาท
    IMPACT DIMENSION
    เศรษฐกิจ
    69.26%
    (6.69 M)
    สังคม
    26.25%
    (2.54 M)
    สิ่งแวดล้อม
    4.49%
    (0.43 M)
    มูลค่าโครงการ: 4,831,184.00 บาท