IMPACT REPORT

ให้คะแนน Impact Report นี้
Viewer: {{ impModel.log_view }}
Average Rating: {{ impModel.rate_avg }}
ชื่อโครงการ โครงการการพัฒนาชารวงข้าวเล็บนกดําอินทรีย์, ชาใบข้าวเล็บนกดําอินทรีย์
ประเภทโครงการ อาหารและการเกษตร (Food and Agriculture)
ผู้ขับเคลื่อนโครงการทางสังคม Unregistered IC
ปีที่ดำเนินโครงการ 2020
ภูมิภาค
จังหวัด พัทลุง
รายละเอียดโครงการโดยย่อ กลุ่มโรงนาหลานย่าแดง, กลุ่มนาอินทรีย์แหลมทอง-ปันแต และกลุ่มข้าวอินทรีย์บ้านดอนนูด ออกแบบผลิตภัณฑ์ชารวง ข้าวเล็บนกดําอินทรีย์ และชาใบข้าวเล็บนกดําอินทรีย์ ซึ่ง สามารถเก็บเกี่ยวข้าวได้เร็วขึ้น ช่วยลดปัญหาศัตรูของข้าวทํา ให้ไม่เกิดความเสียหาย และสร้างมูลค่าเพิ่มแก่ผลผลิต
เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
  • Goal 2: ความหิวสาบสูญ
  • Goal 3: มีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี
  • Goal 8: การจ้างงานที่มีคุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ
  • Goal 12: แผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน
ผู้ดำเนินโครงการหลัก
  • มหาวิทยาลัยทักษิณ
  • ผู้ได้รับประโยชน์หลัก
  • กลุ่มผู้ปลูกข้าวอินทรีย์ กลุ่มโรงนาหลานย่าแดง กลุ่มนาอินทรีย์แหลมทอง-ปันแต และกลุ่มข้าวอินทรีย์บ้านดอนนูด
  • คณะกรรมการ และสมาชิกกลุ่มผู้ ปลูกข้าวอินทรีย์ กลุ่มโรงนาหลานย่า แดง กลุ่มนาอินทรีย์แหลมทอง- ปันแต และกลุ่มข้าวอินทรีย์บ้าน ดอนนูด
  • ผู้สนับสนุนหล่งทุน
  • สํานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.)
  • ภาคีสนับสนุนด้านต่างๆ
  • ชุมชน (ชุมชนปันแต และชุมชน แหลมโตนด)
  • วิธีการประเมิน ประเมินหลังจากการดำเนินโครงการ
    ระยะเวลาในการประเมิน 01/10/2020 - 30/09/2021
    ประเภทการประเมิน Social Return on Investment
    ผู้ประเมิน สกุลทิพย์ กีรติพันธวงศ์ และคณะ
    รูปแบบการประเมิน ประเมินโดยผู้ประเมินทางสังคม
    สถานะการรับรอง -- ไม่ระบุ --
    รูปแบบการประเมิน evaluation
    มูลค่าโครงการ 3,176,123.00 บาท
    SROI RATIO 4.57 เท่า

    ผลสัมฤทธิ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม (SIA & SROI)

    มิติด้านเศรษฐกิจ/การเงิน (EC : ECONOMICS)
    ไม่ระบุ
    • มีรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น รวม 343,780 บาท
    • รายได้ที่เพิ่มมากขึ้น รวม 146,841 บาท
    • มูลค่าเฉลี่ยรายได้เพิ่มขึ้นจากการจ้างงาน รวม 62,191 บาท
    • คณะกรรมการ และสมาชิกเกิดองค์ความรู้หรือทักษะที่เพิ่มขึ้น รวม 167,818 บาท
    • เกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 44,422 บาท
    • เกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 144,808 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดเป็นสถานที่ต้นแบบ/โมเดลต้นแบบ รวม 151,263 บาท
    • มีความรู้/ผลงานที่เพิ่มขึ้น รวม 61,698 บาท
    • เกิดการเข้าถึงงบประมาณ/ทรัพยากร/ทุนสนับสนุนในการดำเนินงานที่เพิ่มขึ้น รวม 247,521 บาท
    • มีงบประมาณสนับสนุนเพิ่มเติม รวม 51,826 บาท
    • มีงบประมาณสนับสนุนเพิ่มเติม รวม 129,565 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดการพัฒนาแปรรูปและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ทางการตลาดเพิ่มขึ้น รวม 288,775 บาท
    • กลุ่มฯ ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีมาตรฐานและมีคุณภาพมากขึ้น รวม 192,517 บาท
    • มีรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น รวม 343,780 บาท
    • รายได้ที่เพิ่มมากขึ้น รวม 146,841 บาท
    • มูลค่าเฉลี่ยรายได้เพิ่มขึ้นจากการจ้างงาน รวม 62,191 บาท
    • คณะกรรมการ และสมาชิกเกิดองค์ความรู้หรือทักษะที่เพิ่มขึ้น รวม 167,818 บาท
    • เกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 44,422 บาท
    • เกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 144,808 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดเป็นสถานที่ต้นแบบ/โมเดลต้นแบบ รวม 151,263 บาท
    • มีความรู้/ผลงานที่เพิ่มขึ้น รวม 61,698 บาท
    • เกิดการเข้าถึงงบประมาณ/ทรัพยากร/ทุนสนับสนุนในการดำเนินงานที่เพิ่มขึ้น รวม 247,521 บาท
    • มีงบประมาณสนับสนุนเพิ่มเติม รวม 51,826 บาท
    • มีงบประมาณสนับสนุนเพิ่มเติม รวม 129,565 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดการพัฒนาแปรรูปและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ทางการตลาดเพิ่มขึ้น รวม 288,775 บาท
    • กลุ่มฯ ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีมาตรฐานและมีคุณภาพมากขึ้น รวม 192,517 บาท
    มิติด้านสังคม/คุณภาพชีวิต (SO : SOCIAL)
    ไม่ระบุ
    • ความเครียด/ความกังวล/ความเสี่ยงในการทำงานลดลง รวม 48,947 บาท
    • เกิดการส่งเสริมความไว้วางใจ/เชื่อมั่นในการดำเนินงานมากขึ้น รวม 45,729 บาท
    • เกิดความภาคภูมิใจจากการสร้างการพึ่งพาตนเองได้ของชุมชน รวม 9,872 บาท
    • ลดอัตราการลาออกของสมาชิก/สมาชิกเพิ่มขึ้น รวม 55,005 บาท
    • เกิดความภาคภูมิใจมากขึ้น รวม 48,947 บาท
    • เกิดความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีที่ปรึกษามากขึ้น รวม 27,147 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่าง ๆ เพิ่มขึ้น รวม 83,836 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ที่ดีขึ้นระหว่างหน่วยงานและชุมชน รวม 106,701 บาท
    • องค์กรมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น รวม 167,673 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกที่ดีขึ้น รวม 118,871 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานและชุมชนดีขึ้น รวม 34,551 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ในครอบครัวดีขึ้น รวม 30,632 บาท
    • กลุ่มฯ เป็นที่รู้จักเพิ่มมากขึ้น รวม 96,258 บาท
    • มีภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 17,275 บาท
    • องค์กรมีภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 60,972 บาท
    • ความเครียด/ความกังวล/ความเสี่ยงในการทำงานลดลง รวม 48,947 บาท
    • เกิดการส่งเสริมความไว้วางใจ/เชื่อมั่นในการดำเนินงานมากขึ้น รวม 45,729 บาท
    • เกิดความภาคภูมิใจจากการสร้างการพึ่งพาตนเองได้ของชุมชน รวม 9,872 บาท
    • ลดอัตราการลาออกของสมาชิก/สมาชิกเพิ่มขึ้น รวม 55,005 บาท
    • เกิดความภาคภูมิใจมากขึ้น รวม 48,947 บาท
    • เกิดความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีที่ปรึกษามากขึ้น รวม 27,147 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่าง ๆ เพิ่มขึ้น รวม 83,836 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ที่ดีขึ้นระหว่างหน่วยงานและชุมชน รวม 106,701 บาท
    • องค์กรมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น รวม 167,673 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกที่ดีขึ้น รวม 118,871 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานและชุมชนดีขึ้น รวม 34,551 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ในครอบครัวดีขึ้น รวม 30,632 บาท
    • กลุ่มฯ เป็นที่รู้จักเพิ่มมากขึ้น รวม 96,258 บาท
    • มีภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 17,275 บาท
    • องค์กรมีภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 60,972 บาท
    มิติด้านสิ่งแวดล้อม (EN : ENVIRONMENT)
    ไม่ระบุ
    • เกิดความตระหนักในการอนุรักษ์ธรรมชาติในชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 22,864 บาท
    • ลดความเสี่ยงในการเก็บเกี่ยวผลผลิตในช่วงของฤดูการเก็บเกี่ยว รวม 97,894 บาท
    • สภาพแวดล้อมในพื้นที่ดีขึ้น รวม 69,924 บาท
    • เกิดความตระหนักในการอนุรักษ์ธรรมชาติในชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 22,864 บาท
    • ลดความเสี่ยงในการเก็บเกี่ยวผลผลิตในช่วงของฤดูการเก็บเกี่ยว รวม 97,894 บาท
    • สภาพแวดล้อมในพื้นที่ดีขึ้น รวม 69,924 บาท
    SROI RATIO: 4.57
    หมายถึง 1 บาทที่ลงทุนในโครงการสามารถสร้างผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมคิดเป็นมูลค่า 4.57 บาท
    IMPACT DIMENSION
    เศรษฐกิจ
    64.01%
    (4.07 M)
    สังคม
    29.99%
    (1.90 M)
    สิ่งแวดล้อม
    6%
    (0.38 M)
    มูลค่าโครงการ: 3,176,123.00 บาท