IMPACT REPORT

ให้คะแนน Impact Report นี้
Viewer: {{ impModel.log_view }}
Average Rating: {{ impModel.rate_avg }}
ชื่อโครงการ โครงการ ระบบสูบน้ำแบบขั้นบันไดพลังงานแสงอาทิตย์ ณ ชุมชนบ้านเมืองหลวง ตำบลเมืองจัง อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน
ประเภทโครงการ เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular)
ผู้ขับเคลื่อนโครงการทางสังคม สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
ปีที่ดำเนินโครงการ 2019
ภูมิภาค
จังหวัด น่าน
รายละเอียดโครงการโดยย่อ เพื่อลดต้นทุนทางเกษตรกรรมใน ด้านพลังงาน และแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำที่ใช้ในการทำการเกษตรในพื้นที่ราบเชิงเขาในชุมชน โดยนำนวัตกรรม/ เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์มาผสมผสานกับระบบสูบน้ำ และออกแบบระบบให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ โดยสูบน้ำจากแหล่งน้ำที่อยู่ต่ำกว่าพื้นที่ตั้งของชุมชนและอยู่ห่างไกลออกไปในลักษณะขั้นบันได เพื่อทดแทนระบบสูบน้ำเดิมที่ใช้พลังงานไฟฟ้าหรือน้ำมัน
เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
  • Goal 6: การจัดการน้ำและสุขาภิบาล
  • Goal 7: พลังงานสะอาดที่ทุกคนเข้าถึงได้
  • Goal 15: การใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศทางบก
ผู้ดำเนินโครงการหลัก
  • คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอิสเทิร์นเอเชีย
  • ผู้ได้รับประโยชน์หลัก
  • คณะกรรมการบริหารจัดการน้ำ
  • กลุ่มผู้ใช้น้ำเพื่อการเกษตร
  • กลุ่มแรงงานก่อสร้าง
  • ชุมชนในพื้นที่หมู่ที่ 4
  • ผู้สนับสนุนหล่งทุน
  • สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.)
  • ภาคีสนับสนุนด้านต่างๆ
  • องค์การบริหารตำบลเมืองจัง
  • สำนักงานป่าไม้
  • เกษตรอำเภอ
  • หน่วยงาน/ชุมชนอื่นที่เข้ามาศึกษาดูงาน
  • วิธีการประเมิน ประเมินหลังจากการดำเนินโครงการ
    ระยะเวลาในการประเมิน 01/03/2020 - 28/02/2021
    ประเภทการประเมิน Social Return on Investment
    ผู้ประเมิน สกุลทิพย์ กีรติพันธวงศ์ และคณะ
    รูปแบบการประเมิน ประเมินโดยผู้ประเมินทางสังคม
    สถานะการรับรอง -- ไม่ระบุ --
    รูปแบบการประเมิน evaluation
    มูลค่าโครงการ 15,697,199.35 บาท
    SROI RATIO 2.05 เท่า

    ผลสัมฤทธิ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม (SIA & SROI)

    มิติด้านเศรษฐกิจ/การเงิน (EC : ECONOMICS)
    ไม่ระบุ
    • เกิดองค์ความรู้ในการบริหารจัดการน้ำเพิ่มขึ้น รวม 204,613 บาท
    • เกิดการมีส่วนร่วมในการสูบน้ำเพิ่มขึ้น รวม 110,719 บาท
    • คุณภาพผลผลิต มูลค่าและรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น รวม 4,613,272 บาท
    • เกิดการจ้างงานในการก่อสร้างระบบสูบน้ำเพิ่มขึ้น รวม 167,011 บาท
    • ความเครียด/ความกังวลในในกรณีเครื่องชำรุดเสียหายลดลง รวม 1,479,845 บาท
    • เกิดระบบสูบน้ำแบบขั้นบันไดพลังงานแสงอาทิตย์ในชุมชน รวม 5,041 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จัก ส่งเสริมความเชื่อใจเพิ่มขึ้น รวม 8,832 บาท
    • เกิดการพัฒนาพื้นที่ และโอกาสทางการตลาดเพิ่มขึ้น รวม 4,933 บาท
    • เกิดงานวิจัย/นวัตกรรมใหม่เพิ่มขึ้น รวม 7,457 บาท
    • เกิดความตระหนักรับรู้/การสื่อสารประชาสัมพันธ์ในการดำเนินงานเพิ่มขึ้น รวม 14,019 บาท
    • เกิดงานวิจัย/นวัตกรรมใหม่เพิ่มขึ้น รวม 7,457 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่าง ๆ เพิ่มขึ้น รวม 137,329 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่าง ๆ เพิ่มขึ้น รวม 137,329 บาท
    • เกิดองค์ความรู้ในการบริหารจัดการน้ำเพิ่มขึ้น รวม 204,613 บาท
    • เกิดการมีส่วนร่วมในการสูบน้ำเพิ่มขึ้น รวม 110,719 บาท
    • คุณภาพผลผลิต มูลค่าและรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น รวม 4,613,272 บาท
    • เกิดการจ้างงานในการก่อสร้างระบบสูบน้ำเพิ่มขึ้น รวม 167,011 บาท
    • ความเครียด/ความกังวลในในกรณีเครื่องชำรุดเสียหายลดลง รวม 1,479,845 บาท
    • เกิดระบบสูบน้ำแบบขั้นบันไดพลังงานแสงอาทิตย์ในชุมชน รวม 5,041 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จัก ส่งเสริมความเชื่อใจเพิ่มขึ้น รวม 8,832 บาท
    • เกิดการพัฒนาพื้นที่ และโอกาสทางการตลาดเพิ่มขึ้น รวม 4,933 บาท
    • เกิดงานวิจัย/นวัตกรรมใหม่เพิ่มขึ้น รวม 7,457 บาท
    • เกิดความตระหนักรับรู้/การสื่อสารประชาสัมพันธ์ในการดำเนินงานเพิ่มขึ้น รวม 14,019 บาท
    • เกิดงานวิจัย/นวัตกรรมใหม่เพิ่มขึ้น รวม 7,457 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่าง ๆ เพิ่มขึ้น รวม 137,329 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่าง ๆ เพิ่มขึ้น รวม 137,329 บาท
    มิติด้านสังคม/คุณภาพชีวิต (SO : SOCIAL)
    ไม่ระบุ
    • ลดความเครียด/ความกังวลในการจัดสรรน้ำในฤดูแล้ง รวม 45,309 บาท
    • เกิดการรวมกลุ่มของชุมชนในการเข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น รวม 525,665 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่างๆ เพิ่มขึ้น รวม 137,329 บาท
    • ลดภาระหนี้สิน ส่งผลให้เกิดความรู้สึกมั่นคงและความสามารถในการพึ่งพาตนเองได้ รวม 2,363,272 บาท
    • เกิดทักษะและการพัฒนาการทำเกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้น รวม 277,305 บาท
    • ความเข้มแข็งของกลุ่ม และการสนับสนุนในการทำเกษตร/ปศุสัตว์เพิ่มขึ้น รวม 2,005,949 บาท
    • ลดความเจ็บป่วย สุขภาพดีขึ้น ลดค่าใช้จ่ายจากปัญหาสุขภาพ รวม 30,681 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่างๆ เพิ่มขึ้น รวม 137,329 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่างๆ เพิ่มขึ้น รวม 217,983 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่างๆ เพิ่มขึ้น รวม 217,983 บาท
    • ลดความเครียด/ความกังวลในการจัดสรรน้ำในฤดูแล้ง รวม 45,309 บาท
    • เกิดการรวมกลุ่มของชุมชนในการเข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น รวม 525,665 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่างๆ เพิ่มขึ้น รวม 137,329 บาท
    • ลดภาระหนี้สิน ส่งผลให้เกิดความรู้สึกมั่นคงและความสามารถในการพึ่งพาตนเองได้ รวม 2,363,272 บาท
    • เกิดทักษะและการพัฒนาการทำเกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้น รวม 277,305 บาท
    • ความเข้มแข็งของกลุ่ม และการสนับสนุนในการทำเกษตร/ปศุสัตว์เพิ่มขึ้น รวม 2,005,949 บาท
    • ลดความเจ็บป่วย สุขภาพดีขึ้น ลดค่าใช้จ่ายจากปัญหาสุขภาพ รวม 30,681 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่างๆ เพิ่มขึ้น รวม 137,329 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่างๆ เพิ่มขึ้น รวม 217,983 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่างๆ เพิ่มขึ้น รวม 217,983 บาท
    มิติด้านสิ่งแวดล้อม (EN : ENVIRONMENT)
    ไม่ระบุ
    • ลดต้นทุนการในการทำเกษตร รวม 1,018,765 บาท
    • เกิดการขยายพื้นที่ในการปลูกข้าวโพดเพิ่มขึ้น รวม -18,792 บาท
    • เกิดการเข้าถึงน้ำได้ดีขึ้นในฤดูแล้ง รวม 825,985 บาท
    • ชุมชนลดการใช้สารเคมีเพิ่มขึ้น รวม 1,014,579 บาท
    • ลดต้นทุนการในการทำเกษตร รวม 1,018,765 บาท
    • เกิดการขยายพื้นที่ในการปลูกข้าวโพดเพิ่มขึ้น รวม -18,792 บาท
    • เกิดการเข้าถึงน้ำได้ดีขึ้นในฤดูแล้ง รวม 825,985 บาท
    • ชุมชนลดการใช้สารเคมีเพิ่มขึ้น รวม 1,014,579 บาท
    SROI RATIO: 2.05
    หมายถึง 1 บาทที่ลงทุนในโครงการสามารถสร้างผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมคิดเป็นมูลค่า 2.05 บาท
    IMPACT DIMENSION
    เศรษฐกิจ
    43.94%
    (13.80 M)
    สังคม
    37.96%
    (11.92 M)
    สิ่งแวดล้อม
    18.1%
    (5.68 M)
    มูลค่าโครงการ: 15,697,199.35 บาท