IMPACT REPORT

ให้คะแนน Impact Report นี้
Viewer: {{ impModel.log_view }}
Average Rating: {{ impModel.rate_avg }}
ชื่อโครงการ โครงการ organic circle : นวัตกรรมการปลูกผักและเลี้ยงสัตว์อินทรีย์ครบวงจร ณ ชุมชน เมืองจัง อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน
ประเภทโครงการ อาหารและการเกษตร (Food and Agriculture)
ผู้ขับเคลื่อนโครงการทางสังคม สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
ปีที่ดำเนินโครงการ 2019
ภูมิภาค
จังหวัด น่าน
รายละเอียดโครงการโดยย่อ เพื่อ นำนวัตกรรม/ เทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการเกษตร ประกอบด้วย การใช้เทคโนโลยีชีวภาพจุลินทรีย์มาปรับปรุงดิน ควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช และลดการใช้สารเคมี การนำเทคโนโลยีเซนเซอร์พร้อมการควบคุมผ่านแอปพลิเคชันมาใช้ในระบบจัดการน้ำ และการบูรณาการระบบเกษตรอินทรียามาใช้ในการเลี้ยงแกะแบบอินทรีย์ เพื่อให้เกิดการหมุนเวียนทรัพยากรและบูรณาการระหว่างการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ นำไปสู่การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและยั่งยืน พัฒนาเกษตรกร และเป็นต้นแบบ/ แหล่งเรียนรู้ให้กับเกษตรกรรายอื่น ๆ ต่อไป
เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
  • Goal 9: อุตสาหกรรม นวัตกรรม โครงสร้างพื้นฐาน
  • Goal 15: การใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศทางบก
ผู้ดำเนินโครงการหลัก
  • สำนักวิชาทรัพยากรการเกษตรจุฬาลงกร์มหาวิทยาลัย
  • ผู้ได้รับประโยชน์หลัก
  • กลุ่มวิสาหกิจ
  • เกษตรกรในชุมชน
  • ชุมชนโดยรวม
  • ผู้สนับสนุนหล่งทุน
  • สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.)
  • ภาคีสนับสนุนด้านต่างๆ
  • องค์การบริหารตำบลเมืองจัง
  • เกษตรอำเภอ
  • หน่วยงาน/ชุมชนอื่นที่เข้ามาศึกษาดูงาน
  • วิธีการประเมิน ประเมินหลังจากการดำเนินโครงการ
    ระยะเวลาในการประเมิน 01/06/2020 - 31/05/2021
    ประเภทการประเมิน Social Return on Investment
    ผู้ประเมิน สกุลทิพย์ กีรติพันธวงศ์ และคณะ
    รูปแบบการประเมิน ประเมินโดยผู้ประเมินทางสังคม
    สถานะการรับรอง -- ไม่ระบุ --
    รูปแบบการประเมิน evaluation
    มูลค่าโครงการ 15,399,769.00 บาท
    SROI RATIO 4.15 เท่า

    ผลสัมฤทธิ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม (SIA & SROI)

    มิติด้านเศรษฐกิจ/การเงิน (EC : ECONOMICS)
    ไม่ระบุ
    • เกิดการพัฒนาพื้นที่และมีโอกาสทางการตลาดเพิ่มขึ้น รวม 4,832 บาท
    • ผลผลิตมีคุณภาพดีขึ้น ลดค่าใช้จ่ายในการทําเกษตร/ปศุสัตว์ รวม 7,457 บาท
    • เกิดการส่งเสริมการดำเนินงานเชิงภารกิจของหน่วยงาน (ด้านการทำเกษตร/ปศุสัตว์อินทรีย์, ด้านการทำเกษตรผสนผสาน) ก่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ความสำเร็จของโครงการ รวม 695,042 บาท
    • เกิดทักษะ/องค์ความรู้/นวัตกรรมใหม่ รวม 3,055,307 บาท
    • เกิดงานวิจัย/นวัตกรรมใหม่จากการดำเนินงานเพิ่มขึ้น รวม 64,429 บาท
    • เกิดทักษะ/องค์ความรู้/นวัตกรรมใหม่เพิ่มขึ้น รวม 217,983 บาท
    • เกิดงานวิจัย/นวัตกรรมใหม่จากการดำเนินงานเพิ่มขึ้น รวม 7,457 บาท
    • ผลิตภัณฑ์มีมาตรฐานเพิ่มขึ้น (PGS) ลดต้นทุนการผลิต รวม 621,239 บาท
    • เกิดพื้นที่การเพาะปลูกในชุมชนที่ได้มาตรฐาน PGS เพิ่มขึ้น รวม 4,832 บาท
    • เกิดการพัฒนาพื้นที่และมีโอกาสทางการตลาดเพิ่มขึ้น รวม 4,832 บาท
    • ผลผลิตมีคุณภาพดีขึ้น ลดค่าใช้จ่ายในการทําเกษตร/ปศุสัตว์ รวม 7,457 บาท
    • เกิดการส่งเสริมการดำเนินงานเชิงภารกิจของหน่วยงาน (ด้านการทำเกษตร/ปศุสัตว์อินทรีย์, ด้านการทำเกษตรผสนผสาน) ก่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ความสำเร็จของโครงการ รวม 695,042 บาท
    • เกิดทักษะ/องค์ความรู้/นวัตกรรมใหม่ รวม 3,055,307 บาท
    • เกิดงานวิจัย/นวัตกรรมใหม่จากการดำเนินงานเพิ่มขึ้น รวม 64,429 บาท
    • เกิดทักษะ/องค์ความรู้/นวัตกรรมใหม่เพิ่มขึ้น รวม 217,983 บาท
    • เกิดงานวิจัย/นวัตกรรมใหม่จากการดำเนินงานเพิ่มขึ้น รวม 7,457 บาท
    • ผลิตภัณฑ์มีมาตรฐานเพิ่มขึ้น (PGS) ลดต้นทุนการผลิต รวม 621,239 บาท
    • เกิดพื้นที่การเพาะปลูกในชุมชนที่ได้มาตรฐาน PGS เพิ่มขึ้น รวม 4,832 บาท
    มิติด้านสังคม/คุณภาพชีวิต (SO : SOCIAL)
    ไม่ระบุ
    • การเจ็บป่วยลดลง สุขภาพดีขึ้น ค่าใช้จ่ายจากปัญหาสุขภาพลดลง รวม 1,002,332 บาท
    • เกษตรกร มีสุขภาพดีขึ้น ลดค่าใช้จ่ายที่สืบเนื่องจากปัญหาสุขภาพ รวม 35,384 บาท
    • ชาวบ้านในชุมชนมีโอกาสได้บริโภคสินค้าที่ปลอดสารเพิ่มขึ้น รวม 122,071 บาท
    • เกิดความภาคภูมิใจ การลดความเครียด/ความกังวลในการทําเกษตร รวม 117,503 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่ได้รับการไว้วางใจ ส่งเสริมความเชื่อใจและเป็นศูนย์กลางในการดำเนินงานของชุมชน รวม 217,983 บาท
    • เกิดการมีส่วนร่วมในชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 8,602,088 บาท
    • ชาวบ้านเกิดความเป็นเจ้าของ/มีความภาคภูมิใจ รู้สึกมั่นคงมากขึ้น รวม 236,453 บาท
    • งบประมาณ/ทรัพยากร/การสันบสนุนเพิ่มขึ้น และได้รับองค์ความรู้ เพิ่มขึ้น รวม 36,796 บาท
    • งบประมาณ/ทรัพยากร/การสันบสนุนเพิ่มขึ้น และได้รับองค์ความรู้ เพิ่มขึ้น รวม 12,617 บาท
    • สามารถนำไปต่อยอดโครงการการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์อินทรีย์ได้มากขึ้น รวม 7,568 บาท
    • มีงบประมาณ/ทรัพยากร/การสันบสนุนเพิ่มขึ้น รวม 120,192 บาท
    • มีงบประมาณ/ทรัพยากร/การสันบสนุนเพิ่มขึ้น รวม 14,019 บาท
    • เกิดความตระหนักรับรู้/การสื่อสารประชาสัมพันธ์ในการดำเนินงานเพิ่มขึ้น รวม 196,185 บาท
    • การเจ็บป่วยลดลง สุขภาพดีขึ้น ค่าใช้จ่ายจากปัญหาสุขภาพลดลง รวม 1,002,332 บาท
    • เกษตรกร มีสุขภาพดีขึ้น ลดค่าใช้จ่ายที่สืบเนื่องจากปัญหาสุขภาพ รวม 35,384 บาท
    • ชาวบ้านในชุมชนมีโอกาสได้บริโภคสินค้าที่ปลอดสารเพิ่มขึ้น รวม 122,071 บาท
    • เกิดความภาคภูมิใจ การลดความเครียด/ความกังวลในการทําเกษตร รวม 117,503 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่ได้รับการไว้วางใจ ส่งเสริมความเชื่อใจและเป็นศูนย์กลางในการดำเนินงานของชุมชน รวม 217,983 บาท
    • เกิดการมีส่วนร่วมในชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 8,602,088 บาท
    • ชาวบ้านเกิดความเป็นเจ้าของ/มีความภาคภูมิใจ รู้สึกมั่นคงมากขึ้น รวม 236,453 บาท
    • งบประมาณ/ทรัพยากร/การสันบสนุนเพิ่มขึ้น และได้รับองค์ความรู้ เพิ่มขึ้น รวม 36,796 บาท
    • งบประมาณ/ทรัพยากร/การสันบสนุนเพิ่มขึ้น และได้รับองค์ความรู้ เพิ่มขึ้น รวม 12,617 บาท
    • สามารถนำไปต่อยอดโครงการการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์อินทรีย์ได้มากขึ้น รวม 7,568 บาท
    • มีงบประมาณ/ทรัพยากร/การสันบสนุนเพิ่มขึ้น รวม 120,192 บาท
    • มีงบประมาณ/ทรัพยากร/การสันบสนุนเพิ่มขึ้น รวม 14,019 บาท
    • เกิดความตระหนักรับรู้/การสื่อสารประชาสัมพันธ์ในการดำเนินงานเพิ่มขึ้น รวม 196,185 บาท
    SROI RATIO: 4.15
    หมายถึง 1 บาทที่ลงทุนในโครงการสามารถสร้างผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมคิดเป็นมูลค่า 4.15 บาท
    IMPACT DIMENSION
    เศรษฐกิจ
    30.38%
    (9.36 M)
    สังคม
    69.62%
    (21.44 M)
    มูลค่าโครงการ: 15,399,769.00 บาท