IMPACT REPORT

ให้คะแนน Impact Report นี้
Viewer: {{ impModel.log_view }}
Average Rating: {{ impModel.rate_avg }}
ชื่อโครงการ โครงการระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบโดมร่วมกับการแผ่รังสีอินฟราเรดระยะไกลจากแผ่นเซรามิก ณ ชุมชน เมืองจัง อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน
ประเภทโครงการ การลดปล่อยคาร์บอน/พลังงานสะอาด (Decarbonisation and Energy)
ผู้ขับเคลื่อนโครงการทางสังคม สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
ปีที่ดำเนินโครงการ 2019
ภูมิภาค
จังหวัด น่าน
รายละเอียดโครงการโดยย่อ เพื่อผู้ผลิตหรือเกษตรกรของไทยได้มีผลผลิตที่มีคุณภาพ ลดปัญหาผลผลิตเน่าเสีย และขายได้มูลค่าเพิ่มขึ้น โดยการนำนวัตกรรม/ เทคโนโลยีเครื่องอบแห้งฯ มาใช้ในการอบแห้งผลิตภัณฑ์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เพื่อเพิ่มมูลค่าให้ผลผลิตมีการยืดอายุการจัดเก็บให้สามารถเก็บรักษาผลผลิตได้นานขึ้น และเพื่อความสะดวกต่อการขนส่ง การพัฒนาระบบอบแห้งให้มีประสิทธิภาพ ใช้งานง่าย ลงทุนน้อย สามารถใช้งานได้ทุกฤดูกาลและมีปริมาณเพียงพอกับความต้องการของลูกค้า ทำให้สมาชิกในกลุ่มและชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น
เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
  • Goal 9: อุตสาหกรรม นวัตกรรม โครงสร้างพื้นฐาน
  • Goal 12: แผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน
ผู้ดำเนินโครงการหลัก
  • มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • ผู้ได้รับประโยชน์หลัก
  • กลุ่มวิสาหกิจแม่ญิงเมืองจัง
  • สมาชิกวิสาหกิจ
  • ชุมชนโดยรวม
  • ผู้สนับสนุนหล่งทุน
  • สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.)
  • ภาคีสนับสนุนด้านต่างๆ
  • องค์การบริหารตำบลเมืองจัง
  • เกษตรอำเภอ
  • หน่วยงาน/ชุมชนอื่นที่เข้ามาศึกษาดูงาน
  • วิธีการประเมิน ประเมินหลังจากการดำเนินโครงการ
    ระยะเวลาในการประเมิน 01/03/2020 - 28/02/2021
    ประเภทการประเมิน Social Return on Investment
    ผู้ประเมิน สกุลทิพย์ กีรติพันธวงศ์ และคณะ
    รูปแบบการประเมิน ประเมินโดยผู้ประเมินทางสังคม
    สถานะการรับรอง -- ไม่ระบุ --
    รูปแบบการประเมิน evaluation
    มูลค่าโครงการ 3,203,065.10 บาท
    SROI RATIO 3.20 เท่า

    ผลสัมฤทธิ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม (SIA & SROI)

    มิติด้านเศรษฐกิจ/การเงิน (EC : ECONOMICS)
    ไม่ระบุ
    • เกิดทักษะ/องค์ความรู้/นวัตกรรมใหม่เพิ่มขึ้น รวม 756,042 บาท
    • ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ และเพิ่มรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ รวม 216,959 บาท
    • เกิดกลุ่มอาชีพการแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรในชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 12,282 บาท
    • เกิดการส่งเสริมการดำเนินงานเชิงภารกิจของหน่วยงานเพิ่มขึ้น รวม 24,565 บาท
    • เกิดประโยชน์ในการพัฒนาพื้นที่ของตน และโอกาสทางการตลาดเพิ่มขึ้น รวม 25,623 บาท
    • เกิดงานวิจัย/นวัตกรรมใหม่จากการดำเนินงานเพิ่มขึ้น รวม 7,457 บาท
    • เกิดงานวิจัย/นวัตกรรมใหม่จากการดำเนินงานเพิ่มขึ้น รวม 7,457 บาท
    • เกิดทักษะ/องค์ความรู้/นวัตกรรมใหม่เพิ่มขึ้น รวม 756,042 บาท
    • ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ และเพิ่มรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ รวม 216,959 บาท
    • เกิดกลุ่มอาชีพการแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรในชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 12,282 บาท
    • เกิดการส่งเสริมการดำเนินงานเชิงภารกิจของหน่วยงานเพิ่มขึ้น รวม 24,565 บาท
    • เกิดประโยชน์ในการพัฒนาพื้นที่ของตน และโอกาสทางการตลาดเพิ่มขึ้น รวม 25,623 บาท
    • เกิดงานวิจัย/นวัตกรรมใหม่จากการดำเนินงานเพิ่มขึ้น รวม 7,457 บาท
    • เกิดงานวิจัย/นวัตกรรมใหม่จากการดำเนินงานเพิ่มขึ้น รวม 7,457 บาท
    มิติด้านสังคม/คุณภาพชีวิต (SO : SOCIAL)
    ไม่ระบุ
    • เกิดการรวมกลุ่มของชุมชนในการเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มขึ้น รวม 9,292 บาท
    • ลดค่าของเสีย/ความเสียหายของผลผลิตทางการเกษตร และเพิ่มรายได้ รวม 838,371 บาท
    • เกิดการมีส่วนร่วมในการแปรรูปผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น รวม 579,013 บาท
    • เกิดการรวมกลุ่มของชุมชนในการเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มขึ้น รวม 31,194 บาท
    • ลดค่าใช้จ่ายในการทำลายขยะจากสินค้าเกษตรตกเกรด รวม 13,283 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่างๆ เพิ่มขึ้น รวม 87,336 บาท
    • หน่วยงานส่งเสริมความเชื่อใจและเป็นศูนย์กลางในการดำเนินงานของชุมชน รวม 2,629 บาท
    • เกิดความเป็นเจ้าของ/มีความภาคภูมิใจ รวม 2,155 บาท
    • มีงบประมาณ/ทรัพยากร/การสันบสนุนเพิ่มขึ้น รวม 81,744 บาท
    • มีงบประมาณ/ทรัพยากร/การสันบสนุนเพิ่มขึ้น รวม 217,983 บาท
    • เกิดความตระหนักรับรู้/การสื่อสารประชาสัมพันธ์เพิ่มขึ้น รวม 14,019 บาท
    • มีงบประมาณ/ทรัพยากร/การสันบสนุนเพิ่มขึ้น รวม 217,983 บาท
    • เกิดการรวมกลุ่มของชุมชนในการเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มขึ้น รวม 9,292 บาท
    • ลดค่าของเสีย/ความเสียหายของผลผลิตทางการเกษตร และเพิ่มรายได้ รวม 838,371 บาท
    • เกิดการมีส่วนร่วมในการแปรรูปผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น รวม 579,013 บาท
    • เกิดการรวมกลุ่มของชุมชนในการเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มขึ้น รวม 31,194 บาท
    • ลดค่าใช้จ่ายในการทำลายขยะจากสินค้าเกษตรตกเกรด รวม 13,283 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่างๆ เพิ่มขึ้น รวม 87,336 บาท
    • หน่วยงานส่งเสริมความเชื่อใจและเป็นศูนย์กลางในการดำเนินงานของชุมชน รวม 2,629 บาท
    • เกิดความเป็นเจ้าของ/มีความภาคภูมิใจ รวม 2,155 บาท
    • มีงบประมาณ/ทรัพยากร/การสันบสนุนเพิ่มขึ้น รวม 81,744 บาท
    • มีงบประมาณ/ทรัพยากร/การสันบสนุนเพิ่มขึ้น รวม 217,983 บาท
    • เกิดความตระหนักรับรู้/การสื่อสารประชาสัมพันธ์เพิ่มขึ้น รวม 14,019 บาท
    • มีงบประมาณ/ทรัพยากร/การสันบสนุนเพิ่มขึ้น รวม 217,983 บาท
    มิติด้านสิ่งแวดล้อม (EN : ENVIRONMENT)
    ไม่ระบุ
    • เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่าง ๆ เพิ่มขึ้น รวม 57,678 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่าง ๆ เพิ่มขึ้น รวม 57,678 บาท
    SROI RATIO: 3.20
    หมายถึง 1 บาทที่ลงทุนในโครงการสามารถสร้างผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมคิดเป็นมูลค่า 3.2 บาท
    IMPACT DIMENSION
    เศรษฐกิจ
    32.79%
    (2.10 M)
    สังคม
    65.41%
    (4.19 M)
    สิ่งแวดล้อม
    1.8%
    (0.12 M)
    มูลค่าโครงการ: 3,203,065.10 บาท