IMPACT REPORT

ให้คะแนน Impact Report นี้
Viewer: {{ impModel.log_view }}
Average Rating: {{ impModel.rate_avg }}
ชื่อโครงการ โครงการการพัฒนาโรงอบพลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานชีวมวลเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพของปลาดุกร้า
ประเภทโครงการ เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular)
ผู้ขับเคลื่อนโครงการทางสังคม สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
ปีที่ดำเนินโครงการ 2020
ภูมิภาค
จังหวัด พัทลุง
รายละเอียดโครงการโดยย่อ พัฒนาระบบโรงอบแห้งอเนกประสงค์พลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อการแปรรูปปลาดุกร้าน้ำตาล โดยได้ปรับปรุงในส่วนของโรงอบแห้ง เปลี่ยนแผ่นรับความร้อน เปลี่ยนวัสดุโครงสร้างของโรงอบแห้งจากเดิมที่ทำจากไม้เป็นเหล็กเคลือบกัลวาไนส์ เพิ่มเติมพัดลมระบายความชื้น และปรับปรุงแผงวางปลาดุกร้า และออกแบบลักษณะบรรจุภัณฑ์ใหม่ โรงอบแห้งสามารถขจัดความชื้นได้ดีเวลาในการตากจะน้อยลง
เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
  • Goal 7: พลังงานสะอาดที่ทุกคนเข้าถึงได้
  • Goal 15: การใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศทางบก
  • Goal 17: ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ผู้ดำเนินโครงการหลัก
  • ม.ทักษิณ
  • ผู้ได้รับประโยชน์หลัก
  • กลุ่มวิสาหกิจชุมชนฯ
  • คณะกรรมการ และสมาชิกกลุ่มฯ
  • ผู้สนับสนุนหล่งทุน
  • สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.)
  • ภาคีสนับสนุนด้านต่างๆ
  • ชุมชน
  • วิธีการประเมิน ประเมินหลังจากการดำเนินโครงการ
    ระยะเวลาในการประเมิน 01/10/2020 - 30/09/2021
    ประเภทการประเมิน Social Return on Investment
    ผู้ประเมิน สกุลทิพย์ กีรติพันธวงศ์ และคณะ
    รูปแบบการประเมิน ประเมินโดยผู้ประเมินทางสังคม
    สถานะการรับรอง -- ไม่ระบุ --
    รูปแบบการประเมิน evaluation
    มูลค่าโครงการ 3,655,573.00 บาท
    SROI RATIO 4.96 เท่า

    ผลสัมฤทธิ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม (SIA & SROI)

    มิติด้านเศรษฐกิจ/การเงิน (EC : ECONOMICS)
    ไม่ระบุ
    • ยอดขายสินค้าต่อเดือนเพิ่มขึ้น รวม 349,826 บาท
    • รายได้ที่เกิดจากการจ้างงานเพิ่มขึ้น รวม 121,273 บาท
    • เกษตรกรผู้เลี้ยงปลาดุกขายมีรายได้เพิ่มขึ้น รวม 424,696 บาท
    • คณะกรรมการและสมาชิกเกิดองค์ความรู้หรือทักษะที่เพิ่มขึ้น รวม 101,869 บาท
    • เกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 36,047 บาท
    • เกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่เพิ่มขึ้น รวม 153,825 บาท
    • เกิดการพัฒนานวัตกรรมการผลิตและการเกษตรที่เพิ่มขึ้น รวม 293,854 บาท
    • เกิดเป็นสถานที่ต้นแบบ/โมเดลต้นแบบมากขึ้น รวม 251,875 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายและความร่วมมือในการดำเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่ายเพิ่มขึ้น รวม 195,903 บาท
    • เกิดโอกาสในการเข้าถึงงบประมาณ/ทรัพยากร/การสนับสนุนต่างๆ เพิ่มขึ้น รวม 22,939 บาท
    • งบประมาณ สิ่งสนับสนุนต่าง ๆ ที่ได้รับเพิ่มขึ้น รวม 137,633 บาท
    • ผลิตภัณฑ์ใหม่มีมาตรฐานและมีคุณภาพมากขึ้น รวม 153,923 บาท
    • เกิดผลงาน/งานวิจัยหรือการต่อยอดองค์ความรู้/ผลงานเพิ่มขึ้น รวม 13,108 บาท
    • ยอดขายสินค้าต่อเดือนเพิ่มขึ้น รวม 349,826 บาท
    • รายได้ที่เกิดจากการจ้างงานเพิ่มขึ้น รวม 121,273 บาท
    • เกษตรกรผู้เลี้ยงปลาดุกขายมีรายได้เพิ่มขึ้น รวม 424,696 บาท
    • คณะกรรมการและสมาชิกเกิดองค์ความรู้หรือทักษะที่เพิ่มขึ้น รวม 101,869 บาท
    • เกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 36,047 บาท
    • เกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่เพิ่มขึ้น รวม 153,825 บาท
    • เกิดการพัฒนานวัตกรรมการผลิตและการเกษตรที่เพิ่มขึ้น รวม 293,854 บาท
    • เกิดเป็นสถานที่ต้นแบบ/โมเดลต้นแบบมากขึ้น รวม 251,875 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายและความร่วมมือในการดำเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่ายเพิ่มขึ้น รวม 195,903 บาท
    • เกิดโอกาสในการเข้าถึงงบประมาณ/ทรัพยากร/การสนับสนุนต่างๆ เพิ่มขึ้น รวม 22,939 บาท
    • งบประมาณ สิ่งสนับสนุนต่าง ๆ ที่ได้รับเพิ่มขึ้น รวม 137,633 บาท
    • ผลิตภัณฑ์ใหม่มีมาตรฐานและมีคุณภาพมากขึ้น รวม 153,923 บาท
    • เกิดผลงาน/งานวิจัยหรือการต่อยอดองค์ความรู้/ผลงานเพิ่มขึ้น รวม 13,108 บาท
    มิติด้านสังคม/คุณภาพชีวิต (SO : SOCIAL)
    ไม่ระบุ
    • ความเครียด/ความกังวล/ความเสี่ยงในการประกอบอาชีพลดลง รวม 209,178 บาท
    • เกิดความมั่นคงในการประกอบอาชีพเดิมเพิ่มขึ้น รวม 38,807 บาท
    • คณะกรรมการเกิดความภาคภูมิใจเพิ่มขึ้น รวม 63,062 บาท
    • เกิดความภาคภูมิใจเพิ่มขึ้น รวม 68,816 บาท
    • องค์กรมีความน่าเชื่อถือ/มีผลการประเมินองค์กรที่ดีขึ้น รวม 186,209 บาท
    • เกิดการส่งเสริมความไว้วางใจ/เชื่อมั่นมากขึ้น รวม 48,576 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือเพิ่มขึ้น รวม 97,153 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกที่ดีขึ้น รวม 82,466 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ในครอบครัวดีขึ้น รวม 77,615 บาท
    • หน่วยงานสามารถบริหารจัดการโครงการฯ ร่วมกับชุมชนได้ดีขึ้น รวม 45,878 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ที่ดีขึ้นระหว่างหน่วยงานและชุมชน รวม 105,249 บาท
    • เป็นที่รู้จักเพิ่มมากขึ้น รวม 97,951 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จักเพิ่มขึ้น ภาพลักษณ์ดีขึ้น รวม 58,986 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จักเพิ่มขึ้น ภาพลักษณ์ดีขึ้น รวม 80,960 บาท
    • ความเครียด/ความกังวล/ความเสี่ยงในการประกอบอาชีพลดลง รวม 209,178 บาท
    • เกิดความมั่นคงในการประกอบอาชีพเดิมเพิ่มขึ้น รวม 38,807 บาท
    • คณะกรรมการเกิดความภาคภูมิใจเพิ่มขึ้น รวม 63,062 บาท
    • เกิดความภาคภูมิใจเพิ่มขึ้น รวม 68,816 บาท
    • องค์กรมีความน่าเชื่อถือ/มีผลการประเมินองค์กรที่ดีขึ้น รวม 186,209 บาท
    • เกิดการส่งเสริมความไว้วางใจ/เชื่อมั่นมากขึ้น รวม 48,576 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือเพิ่มขึ้น รวม 97,153 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกที่ดีขึ้น รวม 82,466 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ในครอบครัวดีขึ้น รวม 77,615 บาท
    • หน่วยงานสามารถบริหารจัดการโครงการฯ ร่วมกับชุมชนได้ดีขึ้น รวม 45,878 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ที่ดีขึ้นระหว่างหน่วยงานและชุมชน รวม 105,249 บาท
    • เป็นที่รู้จักเพิ่มมากขึ้น รวม 97,951 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จักเพิ่มขึ้น ภาพลักษณ์ดีขึ้น รวม 58,986 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จักเพิ่มขึ้น ภาพลักษณ์ดีขึ้น รวม 80,960 บาท
    มิติด้านสิ่งแวดล้อม (EN : ENVIRONMENT)
    ไม่ระบุ
    • เกิดความตระหนักในการอนุรักษ์ธรรมชาติในชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 81,924 บาท
    • ลดการใช้พลังงานอย่างสิ้นเปลืองและการปล่อยของเสียออกสู่ชั้นบรรยากาศลดลง รวม 55,972 บาท
    • เกิดความตระหนักในการอนุรักษ์ธรรมชาติในชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 81,924 บาท
    • ลดการใช้พลังงานอย่างสิ้นเปลืองและการปล่อยของเสียออกสู่ชั้นบรรยากาศลดลง รวม 55,972 บาท
    SROI RATIO: 4.96
    หมายถึง 1 บาทที่ลงทุนในโครงการสามารถสร้างผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมคิดเป็นมูลค่า 4.96 บาท
    IMPACT DIMENSION
    เศรษฐกิจ
    61.74%
    (4.51 M)
    สังคม
    34.49%
    (2.52 M)
    สิ่งแวดล้อม
    3.77%
    (0.28 M)
    มูลค่าโครงการ: 3,655,573.00 บาท