IMPACT REPORT

ให้คะแนน Impact Report นี้
Viewer: {{ impModel.log_view }}
Average Rating: {{ impModel.rate_avg }}
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาผ้าทอเกาะยอโดยใช้เส้นใยสับปะรดและการย้อมสีธรรมชาติ เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์หัตถกรรม
ประเภทโครงการ การพัฒนาสังคม (Social)
ผู้ขับเคลื่อนโครงการทางสังคม Unregistered IC
ปีที่ดำเนินโครงการ 2021
ภูมิภาค
จังหวัด สงขลา
รายละเอียดโครงการโดยย่อ โครงการพัฒนาผ้าทอเกาะยอโดยใช้เส้นใยสับปะรดและการย้อมสีธรรมชาติ เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์หัตถกรรม โดยโครงการนี้มีแนวคิดที่ในการนำเส้นใยสับปะรด ที่เป็นวัสดุเหลือใช้ที่ทิ้งเปล่ามาเป็นวัตถุดิบในการทำเส้นใยและผ่านกระบวนการทอเป็นผ้าเพื่อนำมาสร้างสรรค์เป็นผลิตภัณฑ์สิ่งทอประเภทต่างๆ โดยมีแนวคิดมุ่งเน้นเรื่อง การใช้วัสดุจากธรรมชาติทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นเส้นใยสับปะรดล้วนหรือเส้นใยผสมฝ้าย โดยการย้อมสีธรรมชาติ ทั้งนี้เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์จากเดิมที่ผู้ประกอบการ
เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
  • Goal 1: ขจัดความยากจน
  • Goal 2: ความหิวสาบสูญ
  • Goal 4: การศึกษาที่เท่าเทียม
  • Goal 8: การจ้างงานที่มีคุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ
ผู้ดำเนินโครงการหลัก
  • มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
  • ผู้ได้รับประโยชน์หลัก
  • หจก. รักษ์บ้านเรา สงขลา
  • ชาวไร่สับปะรด/โรงงานผลิตสับปะรดกระป๋อง
  • เรือนจำกลางสงขลา
  • ชุมชนกลุ่มย้อมสี ทอผ้า
  • ผู้สนับสนุนหล่งทุน
  • สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.)
  • ภาคีสนับสนุนด้านต่างๆ
  • กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
  • ชุมชนอื่นที่ข้ามาศึกษาดูงาน
  • วิธีการประเมิน ประเมินหลังจากการดำเนินโครงการ
    ระยะเวลาในการประเมิน 01/03/2019 - 29/02/2020
    ประเภทการประเมิน Social Return on Investment
    ผู้ประเมิน สกุลทิพย์ กีรติพันธวงศ์ และคณะ
    รูปแบบการประเมิน ประเมินโดยผู้ประเมินทางสังคม
    สถานะการรับรอง อื่น
    รูปแบบการประเมิน evaluation
    มูลค่าโครงการ 4,102,022.00 บาท
    SROI RATIO 2.07 เท่า

    ผลสัมฤทธิ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม (SIA & SROI)

    มิติด้านเศรษฐกิจ/การเงิน (EC : ECONOMICS)
    ไม่ระบุ
    • ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดองค์ความรู้ในการแปรรูปลิตภัณฑ์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ นวัตกรรม/เทคโนลียีในการแปรรูปเส้นใยสัปปะรด การตลาด และการบริหารจัดการ คิดเป็นมูลค่า รวม 22,560 บาท
    • เกิดกิจกรรมการอบรม/ถ่ายทอดเทคโนโลยีเฉลี่ยรวม 4.15 ครั้ง คิดเป็นมูลค่า รวม 235,919 บาท
    • เกิดกิจกรรมการแปรรูปใบสัปปะรดเป็นเส้นใยสัปปะรดเฉลี่ยรวม 7 ครั้ง คิดเป็นมูลค่า รวม 24,714 บาท
    • ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดรายได้จากการแปรรูป รวม 108,008 บาท
    • ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดทักษะในการย้อมสีผ้ากึ่งอัตโนมัติเพิ่มขึ้น คิดเป็นมูลค่า รวม 22,414 บาท
    • เกิดกิจกรรมการอบรม/ถ่ายทอดเทคโนโลยีเฉลี่ยรวม 4.15 ครั้ง คิดเป็นมูลค่า รวม 105,514 บาท
    • มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ เกิดการจัดสรรทำผลงานทางวิชาการ คิดเป็นมูลค่า รวม 4,783 บาท
    • ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดทักษะด้านการตลาด คิดเป็นมูลค่า รวม 27,868 บาท
    • เกิดการศึกษาดูงานที่เพิ่มขึ้น จำนวนเฉลี่ย 4 ครั้ง คิดเป็นมูลค่า รวม 103,314 บาท
    • สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย) เกิดการจัดสรรทำผลงานทางวิชาการ คิดเป็นมูลค่า รวม 3,132 บาท
    • ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดองค์ความรู้ในการแปรรูปลิตภัณฑ์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ นวัตกรรม/เทคโนลียีในการแปรรูปเส้นใยสัปปะรด การตลาด และการบริหารจัดการ คิดเป็นมูลค่า รวม 22,560 บาท
    • เกิดกิจกรรมการอบรม/ถ่ายทอดเทคโนโลยีเฉลี่ยรวม 4.15 ครั้ง คิดเป็นมูลค่า รวม 235,919 บาท
    • เกิดกิจกรรมการแปรรูปใบสัปปะรดเป็นเส้นใยสัปปะรดเฉลี่ยรวม 7 ครั้ง คิดเป็นมูลค่า รวม 24,714 บาท
    • ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดรายได้จากการแปรรูป รวม 108,008 บาท
    • ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดทักษะในการย้อมสีผ้ากึ่งอัตโนมัติเพิ่มขึ้น คิดเป็นมูลค่า รวม 22,414 บาท
    • เกิดกิจกรรมการอบรม/ถ่ายทอดเทคโนโลยีเฉลี่ยรวม 4.15 ครั้ง คิดเป็นมูลค่า รวม 105,514 บาท
    • มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ เกิดการจัดสรรทำผลงานทางวิชาการ คิดเป็นมูลค่า รวม 4,783 บาท
    • ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดทักษะด้านการตลาด คิดเป็นมูลค่า รวม 27,868 บาท
    • เกิดการศึกษาดูงานที่เพิ่มขึ้น จำนวนเฉลี่ย 4 ครั้ง คิดเป็นมูลค่า รวม 103,314 บาท
    • สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย) เกิดการจัดสรรทำผลงานทางวิชาการ คิดเป็นมูลค่า รวม 3,132 บาท
    มิติด้านสังคม/คุณภาพชีวิต (SO : SOCIAL)
    ไม่ระบุ
    • ผู้ประกอบการหจก.รักษ์บ้านเราสงขลา เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ 5 ผลิตภัณฑ์ คิดเป็นมูลค่า รวม 9,904 บาท
    • มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ เกิดการเสริมสร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือในระดับพื้นที่จังหวัด กลุ่มจังหวัดและระหว่างประเทศ คิดเป็นมูลค่า รวม 1,148,267 บาท
    • ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดการมีส่วนร่วมในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ โดยมีระดับรายได้ที่เพิ่มขึ้น รวม 38,088 บาท
    • ชุมชนฯ มีต้นทุนในการจัดการขยะที่ลดลง รวม 20,204 บาท
    • เกิดการสร้างมูลค่าเพิ่มและเกิดความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ คิดเป็นมูลค่า รวม 109,444 บาท
    • ผู้เข้าร่วมโครงการมีค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลที่ลดลง จากการลดความเครียด/ความกังวล/เกิดความรู้สึกมีคุณค่าในการใช้ชีวิต รวม 79,552 บาท
    • เกิดกิจกรรมการย้อมสี/ทอผ้าเฉลี่ยรวม 8 ครั้ง คิดเป็นมูลค่า รวม 1,407,508 บาท
    • ผู้เข้าร่วมโครงการมีค่าใช้จ่ายในการใช้สารเคมีที่ลดลง รวม 81,360 บาท
    • เกิดการศึกษาดูงานเพิ่มขึ้น คิดเป็นมูลค่า รวม 184,150 บาท
    • เกิดเครือข่ายพันธมิตร คิดเป็นมูลค่า รวม 139,818 บาท
    • เกิดเครือข่ายพันธมิตร จำนวน 4 องค์กร คิดเป็นมูลค่า รวม 125,836 บาท
    • การมีเครือข่ายพันธมิตรในระดับพื้นที่จังหวัด กลุ่มจังหวัด และระหว่างประเทศ คิดเป็นมูลค่า รวม 91,553 บาท
    • เกิดสื่อประชาสัมพันธ์จากการได้รับรางวัล/กรณีศึกษาในโครงการ คิดเป็นมูลค่า รวม 5,888 บาท
    • ผู้ประกอบการหจก.รักษ์บ้านเราสงขลา เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ 5 ผลิตภัณฑ์ คิดเป็นมูลค่า รวม 9,904 บาท
    • มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ เกิดการเสริมสร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือในระดับพื้นที่จังหวัด กลุ่มจังหวัดและระหว่างประเทศ คิดเป็นมูลค่า รวม 1,148,267 บาท
    • ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดการมีส่วนร่วมในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ โดยมีระดับรายได้ที่เพิ่มขึ้น รวม 38,088 บาท
    • ชุมชนฯ มีต้นทุนในการจัดการขยะที่ลดลง รวม 20,204 บาท
    • เกิดการสร้างมูลค่าเพิ่มและเกิดความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ คิดเป็นมูลค่า รวม 109,444 บาท
    • ผู้เข้าร่วมโครงการมีค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลที่ลดลง จากการลดความเครียด/ความกังวล/เกิดความรู้สึกมีคุณค่าในการใช้ชีวิต รวม 79,552 บาท
    • เกิดกิจกรรมการย้อมสี/ทอผ้าเฉลี่ยรวม 8 ครั้ง คิดเป็นมูลค่า รวม 1,407,508 บาท
    • ผู้เข้าร่วมโครงการมีค่าใช้จ่ายในการใช้สารเคมีที่ลดลง รวม 81,360 บาท
    • เกิดการศึกษาดูงานเพิ่มขึ้น คิดเป็นมูลค่า รวม 184,150 บาท
    • เกิดเครือข่ายพันธมิตร คิดเป็นมูลค่า รวม 139,818 บาท
    • เกิดเครือข่ายพันธมิตร จำนวน 4 องค์กร คิดเป็นมูลค่า รวม 125,836 บาท
    • การมีเครือข่ายพันธมิตรในระดับพื้นที่จังหวัด กลุ่มจังหวัด และระหว่างประเทศ คิดเป็นมูลค่า รวม 91,553 บาท
    • เกิดสื่อประชาสัมพันธ์จากการได้รับรางวัล/กรณีศึกษาในโครงการ คิดเป็นมูลค่า รวม 5,888 บาท
    มิติด้านสิ่งแวดล้อม (EN : ENVIRONMENT)
    ไม่ระบุ
    • ชุมชนฯมีสภาพแวดล้อมดีขึ้น เนื่องจากการลดการใช้สารเคมีในการผลิต คิดเป็นมูลค่า รวม 2,224 บาท
    • ชุมชนฯมีสภาพแวดล้อมดีขึ้น เนื่องจากการลดการใช้สารเคมีในการผลิต คิดเป็นมูลค่า รวม 2,224 บาท
    SROI RATIO: 2.07
    หมายถึง 1 บาทที่ลงทุนในโครงการสามารถสร้างผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมคิดเป็นมูลค่า 2.07 บาท
    IMPACT DIMENSION
    เศรษฐกิจ
    16.05%
    (1.32 M)
    สังคม
    83.9%
    (6.88 M)
    มูลค่าโครงการ: 4,102,022.00 บาท