IMPACT REPORT

ให้คะแนน Impact Report นี้
Viewer: {{ impModel.log_view }}
Average Rating: {{ impModel.rate_avg }}
ชื่อโครงการ โครงการการเสริมสร้างศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงนิเวศป่าเขาอังคารโดยนวัตกรรม 4.0
ประเภทโครงการ การพัฒนาสังคม (Social)
ผู้ขับเคลื่อนโครงการทางสังคม Unregistered IC
ปีที่ดำเนินโครงการ 2018
ภูมิภาค
จังหวัด บุรีรัมย์
รายละเอียดโครงการโดยย่อ กลุ่มอาชีพผลิตไข่เค็มภูอังคาร กลุ่มวิสาหกิจทอผ้าภูอัคนี กลุ่มอนุรักษ์ป่าเขาอังคาร กลุ่มเจริญสุขโฮมสเตย์ บ้านเจริญสุข ตำบลเจริญสุข อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์ โดยมีภารกิจหลักในการจัดทำเส้นทางศึกษาธรรมชาติป่าเขาอังคารเพื่อเสริมสร้างศักยภาพ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศป่าเขาอังคารนั้น ส่งผลให้สามารถใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในพื้นที่ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ การท่องเที่ยวของชุมชนตำบลเจริญสุข อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์ โดยการนำเอานวัตกรรม 4.0 เข้ามามีบทบาทในการจัดกิจกรรมเส้นทางท่องเที่ยวศึกษาธรรมชาติป่าเขาอังคาร ให้มีความปลอดภัยในการท่องเที่ยวสูงสุดด้วยระบบเตือนภัย Security Alert ตามพิกัด GPS Google Map ซึ่งมีทั้งหมด 20 จุดฐาน การเรียนรู้ โดยมีป้ายแสดง QR Code แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ จากการผสมผสานระหว่างธรรมชาติและเทคโนโลยี ส่งผลให้การค้นหาข้อมูลมีประสิทธิภาพมากขึ้น ทั้งนี้นักท่องเที่ยวยังศึกษาข้อมูลนอกเหนือจากนี้ ผ่านคู่มือศึกษาธรรมชาติ ป่าเขาอังคาร 2 ภาษาที่เสริม QR Code, E-Book และ Application โดยมีการประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อสารมวลชนหลายช่องทาง อาทิ ช่องข่าวไทยรัฐทีวี เฟสบุ๊ค ไลน์ YouTube และเว็บไซต์ที่จดโดเมน ในชื่อ www.khao-angkaan.com
เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
  • Goal 4: การศึกษาที่เท่าเทียม
  • Goal 8: การจ้างงานที่มีคุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ
  • Goal 9: อุตสาหกรรม นวัตกรรม โครงสร้างพื้นฐาน
ผู้ดำเนินโครงการหลัก
  • มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์
  • ผู้ได้รับประโยชน์หลัก
  • อาสาสมัครพิทักษ์ป่าชายชุดดำ
  • วิสาหกิจชุมชน
  • กลุ่มมัคคุเทศก์ชุมชน
  • ชุมชนโดยรวม
  • คณะกรรมการกลุ่มหมู่บ้านท่องเที่ยว
  • ผู้สนับสนุนหล่งทุน
  • สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
  • ภาคีสนับสนุนด้านต่างๆ
  • พัฒนาชุมชน
  • ทกจ.บุรีรัมย์
  • วิธีการประเมิน ประเมินหลังจากการดำเนินโครงการ
    ระยะเวลาในการประเมิน 01/08/2018 - 31/07/2019
    ประเภทการประเมิน Social Return on Investment
    ผู้ประเมิน สกุลทิพย์ กีรติพันธวงศ์ และคณะ
    รูปแบบการประเมิน ประเมินโดยผู้ประเมินทางสังคม
    สถานะการรับรอง อื่น
    รูปแบบการประเมิน evaluation
    มูลค่าโครงการ 5,149,190.00 บาท
    SROI RATIO 2.53 เท่า

    ผลสัมฤทธิ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม (SIA & SROI)

    มิติด้านเศรษฐกิจ/การเงิน (EC : ECONOMICS)
    ไม่ระบุ
    • ชาวบ้านเกิดทักษะ/องค์ความรู้/นวัตกรรมใหม่ด้านการอนุรักษ์ป่า ด้านการให้บริการท่องเที่ยวชุมชน ด้านการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยว ด้านการตลาด ด้านการบริหารจัดการ คิดเป็นมูลค่า รวม 531,065 บาท
    • เกิดการพัฒนา/ปรับปรุงเส้นทางท่องเที่ยว เสริมสร้างศักยภาพบุคลากร/ผู้ประกอบการ/ชุมชน ส่งผลต่อการเพิ่มรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ รวม 376,168 บาท
    • ชาวบ้านเกิดทักษะในการท่องเที่ยวชุมชนที่เพิ่มขึ้น คิดเป็นมูลค่า รวม 61,308 บาท
    • ชาวบ้านเกิดรายได้ที่เพิ่มขึ้นจากการขายสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน รวม 537,455 บาท
    • มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์เกิดการจัดสรรทำผลงานทางวิชาการ คิดเป็นมูลค่า รวม 5,694 บาท
    • กลุ่มมัคคุเทศก์ชุมชนเกิดทักษะในการท่องเที่ยวชุมชนที่เพิ่มขึ้น คิดเป็นมูลค่า รวม 211,174 บาท
    • อาสาสมัครพิทักษ์ป่าชายชุดดำเกิดทักษะในการท่องเที่ยวชุมชนที่เพิ่มขึ้น คิดเป็นมูลค่า รวม 186,467 บาท
    • สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เกิดการจัดสรรทำผลงานทางวิชาการ คิดเป็นมูลค่า รวม 3,729 บาท
    • ชาวบ้านเกิดทักษะ/องค์ความรู้/นวัตกรรมใหม่ด้านการอนุรักษ์ป่า ด้านการให้บริการท่องเที่ยวชุมชน ด้านการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยว ด้านการตลาด ด้านการบริหารจัดการ คิดเป็นมูลค่า รวม 531,065 บาท
    • เกิดการพัฒนา/ปรับปรุงเส้นทางท่องเที่ยว เสริมสร้างศักยภาพบุคลากร/ผู้ประกอบการ/ชุมชน ส่งผลต่อการเพิ่มรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ รวม 376,168 บาท
    • ชาวบ้านเกิดทักษะในการท่องเที่ยวชุมชนที่เพิ่มขึ้น คิดเป็นมูลค่า รวม 61,308 บาท
    • ชาวบ้านเกิดรายได้ที่เพิ่มขึ้นจากการขายสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน รวม 537,455 บาท
    • มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์เกิดการจัดสรรทำผลงานทางวิชาการ คิดเป็นมูลค่า รวม 5,694 บาท
    • กลุ่มมัคคุเทศก์ชุมชนเกิดทักษะในการท่องเที่ยวชุมชนที่เพิ่มขึ้น คิดเป็นมูลค่า รวม 211,174 บาท
    • อาสาสมัครพิทักษ์ป่าชายชุดดำเกิดทักษะในการท่องเที่ยวชุมชนที่เพิ่มขึ้น คิดเป็นมูลค่า รวม 186,467 บาท
    • สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เกิดการจัดสรรทำผลงานทางวิชาการ คิดเป็นมูลค่า รวม 3,729 บาท
    มิติด้านสังคม/คุณภาพชีวิต (SO : SOCIAL)
    ไม่ระบุ
    • ชุมชนโดยรวมเกิดกิจกรรมการเตรียมความพร้อมพื้นที่ คิดเป็นมูลค่า รวม 576,521 บาท
    • กลุ่มมัคคุเทศก์ชุมชนเกิดเครือข่ายพันธมิตร จำนวน 4 องค์กร คิดเป็นมูลค่่า รวม 149,805 บาท
    • เกิดการรวมกลุ่มที่มีจิตสำนึกรักบ้านเกิด มีส่วนร่วมเรียนรู้และร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชน ส่งเสริมรากฐานความเข้มแข็งในอนาคตของชุมชนและการสานต่อวัฒนธรรมอันดีของพื้นที่ คิดเป็นมูลค่า รวม 694,116 บาท
    • ชุมชนโดยรวมเกิดสื่อประชาสัมพันธ์จากการได้รับรางวัล/กรณีศึกษาในโครงการ คิดเป็นมูลค่า รวม 153,301 บาท
    • เกิดการส่งเสริมอัตลักษณ์/เรียนรู้วัฒนธรรมชุมชน ส่งเสริมการสร้างความเขมแข็งของชุมชน นำไปสู่การร่วมกันพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน คิดเป็นมูลค่า รวม 50,531 บาท
    • ชุมชนโดยรวมมีคุณภาพอากาศที่ดีขึ้น คิดเป็นมูลค่า รวม 1,097,402 บาท
    • มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์เกิดเครือข่ายพันธมิตร จำนวน 4 องค์กร คิดเป็นมูลค่า รวม 166,450 บาท
    • วิสาหกิจชุมชนเกิดเครือข่ายพันธมิตร จำนวน 4 องค์กร คิดเป็นมูลค่า รวม 108,992 บาท
    • ชุมชนโดยรวมเกิดเครือข่ายพันธมิตร จำนวน 4 องค์กร คิดเป็นมูลค่า รวม 108,992 บาท
    • สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เกิดเครือข่ายพันธมิตร จำนวน 4 องค์กร คิดเป็นมูลค่า รวม 108,992 บาท
    • มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์เกิดสื่อประชาสัมพันธ์จากการได้รับรางวัล/กรณีศึกษาในโครงการ คิดเป็นมูลค่า รวม 21,028 บาท
    • ชุมชนโดยรวมเกิดกิจกรรมการเตรียมความพร้อมพื้นที่ คิดเป็นมูลค่า รวม 576,521 บาท
    • กลุ่มมัคคุเทศก์ชุมชนเกิดเครือข่ายพันธมิตร จำนวน 4 องค์กร คิดเป็นมูลค่่า รวม 149,805 บาท
    • เกิดการรวมกลุ่มที่มีจิตสำนึกรักบ้านเกิด มีส่วนร่วมเรียนรู้และร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชน ส่งเสริมรากฐานความเข้มแข็งในอนาคตของชุมชนและการสานต่อวัฒนธรรมอันดีของพื้นที่ คิดเป็นมูลค่า รวม 694,116 บาท
    • ชุมชนโดยรวมเกิดสื่อประชาสัมพันธ์จากการได้รับรางวัล/กรณีศึกษาในโครงการ คิดเป็นมูลค่า รวม 153,301 บาท
    • เกิดการส่งเสริมอัตลักษณ์/เรียนรู้วัฒนธรรมชุมชน ส่งเสริมการสร้างความเขมแข็งของชุมชน นำไปสู่การร่วมกันพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน คิดเป็นมูลค่า รวม 50,531 บาท
    • ชุมชนโดยรวมมีคุณภาพอากาศที่ดีขึ้น คิดเป็นมูลค่า รวม 1,097,402 บาท
    • มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์เกิดเครือข่ายพันธมิตร จำนวน 4 องค์กร คิดเป็นมูลค่า รวม 166,450 บาท
    • วิสาหกิจชุมชนเกิดเครือข่ายพันธมิตร จำนวน 4 องค์กร คิดเป็นมูลค่า รวม 108,992 บาท
    • ชุมชนโดยรวมเกิดเครือข่ายพันธมิตร จำนวน 4 องค์กร คิดเป็นมูลค่า รวม 108,992 บาท
    • สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เกิดเครือข่ายพันธมิตร จำนวน 4 องค์กร คิดเป็นมูลค่า รวม 108,992 บาท
    • มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์เกิดสื่อประชาสัมพันธ์จากการได้รับรางวัล/กรณีศึกษาในโครงการ คิดเป็นมูลค่า รวม 21,028 บาท
    SROI RATIO: 2.53
    หมายถึง 1 บาทที่ลงทุนในโครงการสามารถสร้างผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมคิดเป็นมูลค่า 2.53 บาท
    IMPACT DIMENSION
    เศรษฐกิจ
    37.15%
    (3.83 M)
    สังคม
    62.85%
    (6.47 M)
    มูลค่าโครงการ: 5,149,190.00 บาท